งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ผู้เรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ผู้เรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ผู้เรียน

2 วัยผู้ใหญ่ตอนต้น(20-25 ปี)
ผู้เรียน: นักศึกษา นักศึกษา: ปี : (ปริญญาตรี) วัยรุ่นตอนปลาย(17-19 ปี) วัยผู้ใหญ่ตอนต้น(20-25 ปี)

3 ชม VCD พฤติกรรมวัยรุ่น

4 พฤติกรรม:พัฒนาการของนักศึกษา
ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติ ปัญญา

5 ลักษณะและธรรมชาติของนักศึกษา วัยรุ่นตอนปลาย : อายุ 17-19 ปี
เริ่มเจริญเติบโตเข้าสู่วัยหนุ่มสาว ตัดสินใจเลือกอาชีพที่เหมาะสม เป็นเวลาของการฝึกวิชาชีพ มีความสัมพันธ์แบบผูกพันแน่นแฟ้น

6 ลักษณะและธรรมชาติของนักศึกษา
ช่วงอายุ ปี แยกจากครอบครัว :ศึกษาในที่ห่างไกล หรือการงาน มีรายได้สำหรับตนเอง พึ่งพาอาศัยพ่อแม่ครอบครัวน้อยลง เริ่มที่จะเลือกรูปแบบของชีวิตที่ตนพึงพอใจ เพื่อนหรือภาวะแวดล้อมทางสังคม หน้าที่การงานจะมีบทบาทมากขึ้น เริ่มสร้างมิตรภาพกับผู้อื่น มีหน้าที่ความรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่ ต้องเปลี่ยนแปลง/เอาชนะความรู้สึกต่างๆที่เคยมีในวัยรุ่นซึ่งยึดมั่นในอุดมการณ์ ความสมบูรณ์แบบ เกิดความขัดแย้ง ความคับข้องใจได้ ถ้าเปลี่ยนไม่ได้

7 งานตามพัฒนาการของนักศึกษา
ค้นหาอัตลักษณ์ของตนเอง ค้นหาความสามารถของตนเอง แสวงหาประสบการณ์ชีวิตที่หลากหลาย พัฒนาบทบาทของการเป็นผู้ใหญ่ สร้างความสัมพันธ์กับเพื่อน แฟน ค้นหาเป้าหมายในชีวิต:อาชีพการงาน และส่วนตัว

8 ความต้องการของนักศึกษา
ความรัก ความเข้าใจ และโอกาส การยอมรับ : เพื่อน อาจารย์ พ่อแม่ สังคม การเห็นคุณค่าในตนเอง ความมีอิสระ /การพึ่งพาตนเอง ผู้ที่เขารู้สึกว่าเขาสามารถไว้วางใจได้ แบบอย่างที่ดี คำพูดและการแสดงออกที่บ่งบอกถึงความชื่นชมและกำลังใจ

9 การใช้ชีวิตในมหา’ลัย เป็นการใช้ชีวิต
แบบอิสระไม่ว่าจะเป็นการแต่งกาย ทรงผม การคบเพื่อน การบริหารจัดการเวลา เงิน การเรียน การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยจึงเป็นการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆที่ต้องมีการปรับตัวอย่างมาก

10 ชมคลิปพฤติกรรมของนักศึกษา ที่ปรับตัวไม่ได้
Clip การพนัน เหล้า เกม อกหัก

11 ของนักศึกษาที่ปรับตัวไม่ได้
จาก Clip พฤติกรรม ของนักศึกษาที่ปรับตัวไม่ได้ ดูแล้วรู้สึกอย่างไร เคยเจอ/รับรู้พฤติกรรมปัญหาแบบนี้ไหม พฤติกรรมที่เป็นปัญหาอื่นๆที่เคยเจอ/รับรู้ มีอะไรบ้าง ได้ช่วยเหลือ แก้ไขหรือป้องกันอย่างไรบ้าง

12 ปัญหาของนักศึกษา ที่ปรากฏในสื่อ

13 นักศึกษาเครียดเรื่องเรียนยิงตัวตายในห้องพัก
นศ.สาวปี 1 ติด F น้อยใจ ผูกคอ ดับ ! สุดสลด! นิสิตพยาบาล ม.บูรพาดิ่งหอดับ เครียด-ติดเกม-ไฮไฟว์ เคยรักษาป่วยซึมเศร้า เก็บตัวไม่สุงสิงกับเพื่อน นักศึกษาเครียดเรื่องเรียนยิงตัวตายในห้องพัก

14 นักศึกษาเครียดเรื่องเพื่อนดิ่งตึกใบหยก
หนุ่มนักศึกษาปี 4 ม.หอการค้าไทย โดดตึกใบหยกดับอนาถ พ่อเผยก่อนเกิดเหตุลูกบ่นมีปัญหากับเพื่อน

15 “นิสิตหนุ่ม-ถูกหักอก โดดตึกจุฬาฯ สุดสยองต่อหน้าคนรัก”

16 คนร้ายยิงนักศึกษาปี 2 เสียชีวิตหน้ามหาวิทยาลัย หลังผู้ตายขับรถไปส่งเพื่อนสาว ตำรวจสันนิษฐานสาเหตุจากเรื่องชู้สาว สลด..นศ.หนุ่มวิศวะ ฆ่าสาวนิติฯ กลัวแฟนสาวตีตัวออกห่าง มีปากเสียงกันรุนแรง ฝ่ายชายโมโหคว้ามีดแทงแฟนสาวตายคามือ แล้วแทงตัวเองตายตาม

17 นักศึกษาสาวมีปัญหาเรื่องชู้สาว ก่อเหตุทะเลาะวิวาท
เมา-พิสูจน์รักเพื่อน 3นศ.สาว ดิ่งเจ้าพระยา-หาวุ่น นักศึกษาสาวมีปัญหาเรื่องชู้สาว ก่อเหตุทะเลาะวิวาท “ซ่องโสเภณี”เปลี่ยนโฉมขายบริการทางเพศใหม่เป็นขายบริการแฝงตัวอยู่ในร้านอินเตอร์เน็ต-คาราโอเกะ ขายตรงทางโทรศัพท์ตามหอพักนักศึกษา อาศัยเครื่องแบบนักศึกษาขายเซ็กส์

18 นักวิชาการห่วงค่านิยม จะกลายเป็นเรื่องปกติ
"เด็กขายตัว" จะกลายเป็นเรื่องปกติ นักเรียนทั้งม.ตอนต้นและตอนปลาย นิสิต นักศึกษา มีค่านิยมในทางที่ผิด โดยการประกาศขายบริการทางเพศผ่านทางเว็บไซต์ สาเหตุมาจากค่านิยมที่ผิด ติดนิสัยฟุ้งเฟ้อฟุ่มเฟือย หลงในวัตถุนิยม เห็นเพื่อนมีของแบรนด์เนมอยากมีตามเพื่อน ลองทำครั้งแรก หาเงินมาได้ง่ายๆ ต่อมาทำกันจนกลายเป็นความเคยชิน

19 สภาวการณ์นักศึกษาปี 50-51
เที่ยวกลางคืน/ค่านิยมฟุ้งเฟ้อ ดูVCD/ภาพยนตร์โป๊ พนันบอล เล่นเกมคอมฯ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร (Child Watch,2007-8)

20 นักศึกษาของเราเป็นอย่างไร
จับคู่พูดคุยกันในประเด็น: พฤติกรรมที่น่าเป็นห่วงของนักศึกษา มอบ. 3 พฤติกรรม พฤติกรรมดังกล่าวของนักศึกษา อยู่ในความรับผิดชอบของใคร?

21 พฤติกรรมที่น่าเป็นห่วงของนักศึกษา
นำเสนอผลการพูดคุย พฤติกรรมที่น่าเป็นห่วงของนักศึกษา 3 พฤติกรรม

22 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สาขาวิชาพัฒนาสังคม
11 สิงหาคม 2554 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สาขาวิชาพัฒนาสังคม ปัญหาวัยรุ่นเมืองอุบลฯยังไม่คลี่คลาย นักวิชาการแฉ การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างเรียน กำลังลุกลามกลายเป็นปัญหาสังคมอยู่ในขณะนี้ สถิติทำแท้งพุ่งกระฉูดแซงหน้าแชมป์เก่ามหาสารคาม ร้อยละ 76 เห็นว่าการเล่นหวยใต้ดินเป็น เรื่องปกติในสังคม ร้อยละ 64 เห็นด้วยกับการมีหวยออนไลน์

23 ปัญหาดังกล่าวควรอยู่ในความรับผิดชอบของใคร
นำเสนอผลการพูดคุย ปัญหาดังกล่าวควรอยู่ในความรับผิดชอบของใคร

24 ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ทุกคน 1……2…..3..…4…..5…..6……ฯลฯ
เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบ เป็นจรรยาบรรณ ใกล้ชิด รัก เมตตา สงสาร จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ฯลฯ

25 อาจารย์ผู้รับผิดชอบที่มหาวิทยาลัย
มอบหมายโดยตรง ให้ทำหน้าที่ในการ -ป้องกัน -แก้ไข -ช่วยเหลือ นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา

26 ปัญหาของนักศึกษาที่เกิดขึ้น พวกเรามีส่วนช่วยอย่างไร

27 ศึกษาเรื่องราวของ “นักศึกษาหญิงคนหนึ่ง”
ภารกิจ จะช่วยเหลือ“นักศึกษาหญิงคนนี้”อย่างไร 1. ระบุปัญหาให้ชัดเจน 2. หาสาเหตุของปัญหา 3. กำหนดแนวทางช่วยเหลือ clip

28 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จับกลุ่มๆละเท่าๆกัน 6 กลุ่ม
ประสบการณ์ร่วมกัน จับกลุ่มๆละเท่าๆกัน 6 กลุ่ม 1.แต่ละกลุ่มเลือก ประธานและเลขากลุ่ม แล้วดำเนินการให้สมาชิกช่วยกันอภิปรายให้ได้ข้อสรุปว่าจะช่วยเหลือ “นักศึกษาหญิงคนหนึ่ง”ด้วยกระบวนการช่วยเหลือ 3 ขั้นตอนต่อไปนี้อย่างไร ขั้นตอนที่ 1 ระบุปัญหาที่ชัดเจน ขั้นตอนที่ 2 หาสาเหตุของปัญหา ขั้นตอนที่ 3 แนวทางช่วยเหลือ ใช้เวลา 5 นาที

29 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ร่วมกัน(ต่อ)
คำชี้แจง : 3 กลุ่มรวมเป็น 1 ก๊วน 1 ก๊วนมี 3 ฐาน ก๊วนที่ 1: กลุ่ม 1,2 และ 3 ก๊วนที่ 2: กลุ่ม 4,5 และ6 2.ให้แต่ละกลุ่มเขียนข้อสรุปว่าจะช่วยเหลือ “นักศึกษาหญิงคนนั้น”ด้วยกระบวนการช่วยเหลือ 3 ขั้นตอนลงกระดาษชาร์ตในแต่ละฐาน โดยเวียนฐาน(ฐานละ1 ขั้นตอน/3 ฐาน) ใช้เวลาฐานละ 3 นาที (โดยไม่ซ้ำกับกลุ่มอื่นที่เขียนแล้ว) 3.ก๊วนใดทำงานครบทุกฐานแล้ว ให้กลุ่มที่อยู่ฐานสุดท้ายช่วยกันสรุปและส่งตัวแทนนำเสนอ กลุ่มละ 2 นาที

30 การนำเสนอแนวทางช่วยเหลือ
“ นักศึกษาหญิง”

31 แนวทางการวิเคราะห์ปัญหานักศึกษาเพื่อช่วยเหลือ

32 สาเหตุของพฤติกรรมปัญหา
ครอบครัว ขัดแย้งกับพ่อแม่ ครอบครัวแตกแยก ขาดการดูแลเอาใจใส่ สถานศึกษา เร่งการเรียน ไม่เข้าใจธรรมชาติ - ทำโทษรุนแรง พ่อแม่ กลุ่มเพื่อน -ชักชวน -ต้องการการยอมรับ วัยรุ่น ครู อาจารย์ เพื่อน ตนเอง ชุมชน ตัวบุคคล ไม่มีความสามารถในการเรียน มีความผิดปกติด้านพฤติกรรม ทักษะการเรียนต่ำ สภาพแวดล้อมในชุมชน มียาเสพติดและแหล่ง อบายมุขในพื้นที่

33 กรณีตัวอย่าง แนวทางการวิเคราะห์ เพื่อช่วยเหลือนักศึกษา ที่มีปัญหา

34 พฤติกรรมหนีเรียน/ไม่ตั้งใจ/โดดเรียน
วิเคราะห์สาเหตุ ตัวนักศึกษา สติปัญญาไม่ดี พื้นฐานความรู้ สุขภาพอ่อนแอ รู้สึกด้อย ขาดแรงจูงใจ ขาดทักษะในการเรียน/ในการแก้ปัญหา/ควบคุมตนเอง/อารมณ์ ฯลฯ ครอบครัว ไม่อบอุ่น ไม่สนับสนุน การเลี้ยงดู ขัดสน ไม่เป็นตัวแบบที่ดีฯลฯ สิ่งแวดล้อม วิธีการสอนของอาจารย์ไม่เร้าใจ เพื่อน/อาจารย์ไม่ยอมรับ เพื่อนชักจูง ใกล้แหล่งอบายมุข ฯลฯ

35 แนวทางการช่วยเหลือ ตัวนักศึกษา
พูดคุยเพื่อหาข้อมูล ให้ระบายความรู้สึกต่อปัญหา เหตุการณ์ในชีวิต ชักชวนให้คิดถึงเป้าหมายชีวิต การเรียน ให้ความใส่ใจ กำลังใจ ความมั่นใจ เสนอแนะวิธีเรียน/เรียนพิเศษ ซ่อมเสริม กระตุ้นให้หาวิธีระบายความคับข้องใจ : เพื่อน ผู้สอน กีฬา ดนตรี ศิลปะ ช่วยค้นหาความสามารถพิเศษ ความสนใจ กีฬา ดนตรี ศิลปะ เลี้ยงสัตว์ ให้ความสำคัญ การชื่นชมเมื่อทำสิ่งที่ดีๆ

36 พฤติกรรมทางเพศ วิเคราะห์สาเหตุ ตัวนักศึกษา ครอบครัว สิ่งแวดล้อม
รู้สึกด้อย ไร้ค่า ต้องการการยอมรับ ขาดทักษะในการแก้ปัญหา/การคิด/การจัดการอารมณ์ ฮอร์โมนเพศ ค่านิยม ฯลฯ ครอบครัว ไม่อบอุ่น ไม่สอน/เตือน/ให้ข้อมูล เป็นตัวแบบที่ไม่ดี ขัดสน ฯลฯ สิ่งแวดล้อม เพื่อนชักจูง อิทธิพลของสื่อ เป็นพื้นที่เสี่ยง ขาดการยอม รับจากเพื่อน/อาจารย์ ฯลฯ

37 แนวทางการช่วยเหลือ ตัวนักศึกษา สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับเด็ก
พูดคุยเพื่อหาข้อมูล ให้ระบายความรู้สึกต่อปัญหา เหตุการณ์ในชีวิต กระตุ้นให้ตระหนักถึงผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ ชักชวนให้คิดถึงเป้าหมายชีวิต การเรียน ให้ข้อมูลเรื่องการป้องกันโรค การตั้งครรภ์ การหลีกเลี่ยงโอกาสในการมีเพศสัมพันธ์ ทักษะการปฏิเสธ การสร้างความภาคภูมิใจในตัวเอง ให้จดบันทึกจำนวนครั้งการมีเพศสัมพันธ์ ให้คำชม กำลังใจ เมื่อลดจำนวนได้ ช่วยค้นหาความสามารถพิเศษ ความสนใจ กีฬา ดนตรี ศิลปะ ทำความเข้าใจกับเพื่อน คนอื่นๆไม่ให้ตำหนิ กดดัน ให้ความรัก ใส่ใจและความมั่นใจว่าจะลด เลิกได้

38 พฤติกรรมติดสารเสพติด
วิเคราะห์สาเหตุ ตัวเด็ก อยากลองอยากรู้ ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง ขาดทักษะในการแก้ปัญหา/การคิด ใจอ่อน ปฏิเสธไม่เป็น ต้องการการยอมรับ ค่านิยม ฯลฯ สิ่งแวดล้อม เพื่อน/อาจารย์ไม่ยอมรับ เพื่อนชักจูง ชุมชนเป็นแหล่งมั่วสุมยาเสพติด ฯลฯ ครอบครัว ไม่อบอุ่น เป็นที่พึ่งไม่ได้ ขัดสน เป็นตัวแบบที่ไม่ดี ฯลฯ

39 แนวทางการช่วยเหลือ ตัวนักศึกษา
พูดคุยกับเด็กเพื่อหาข้อมูล ให้ระบายความรู้สึกต่อปัญหา เหตุการณ์ในชีวิต พบผู้ปกครอง สื่อสารให้ตระหนักถึงปัญหา ให้เข้าใจความรู้สึกของลูก วิธีดูแลลูก นำเด็กพบแพทย์เพื่อรักษา ให้คำแนะนำเด็กในการปรับตัวในครอบครัว ให้ความใส่ใจ กำลังใจ ความมั่นใจในการปรับเปลี่ยน แก้ไขตนเอง ช่วยค้นหาความสามารถพิเศษ ความสนใจ กีฬา ดนตรี ศิลปะ กระตุ้นให้ทำกิจกรรมกับกลุ่มเพื่อน

40 ข้อควรตระหนัก การรักษาความลับ
การรวบรวมข้อมูลของนักศึกษาอย่างเป็นระบบจะช่วยให้วิเคราะห์สาเหตุได้ครบถ้วนและวางแผนช่วยเหลือได้เหมาะสม ปัญหาเดียวกันของนักศึกษาแต่ละคน แต่สาเหตุอาจไม่เหมือนกัน วิธีช่วยเหลือนักศึกษาแต่ละคนไม่มีสูตรสำเร็จ

41 แนวทางการดูแลช่วยเหลือนักศึกษา
1.รับฟัง/ใช้เหตุผล 2.แสดงท่าทีเข้าใจ เห็นใจ หนักแน่น 3.ช่วยหาทางเลือกทดแทน 4.ลงโทษ/ถ้าจำเป็น 5.เลิกสนใจพฤติกรรมที่เป็นปัญหา 6.ให้โอกาส/ทำข้อตกลง 7.เป็นแบบอย่างที่ดี

42 แนวทางช่วยเหลือเพื่อแก้ไขปัญหา

43 การใช้สื่อโฆษณาในการป้องกัน พฤติกรรมที่เป็นปัญหาของนักศึกษา
คลิป VCD

44 ฝึกปฏิบัติ วิเคราะห์กรณีศึกษา

45 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประสบการณ์ร่วมกัน ประธานฯรับกรณีศึกษา กลุ่มละ 1 ชุด แจกกรณีศึกษาให้สมาชิก ดำเนินการให้สมาชิกช่วยกันศึกษาและวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ได้รับแล้ว 1) ระบุปัญหาที่ชัดเจน 2) หาสาเหตุของปัญหา 3) กำหนดแนวทางช่วยเหลือ ส่งตัวแทนกลุ่มนำเสนอด้วยวิธีที่เร้าใจ/โดนใจผู้ชม

46 ผู้ชมร่วมนำเสนอข้อคิด/ความเห็น
การนำเสนอผลงานกลุ่ม ผู้ชมร่วมนำเสนอข้อคิด/ความเห็น เพิ่มเติม

47

48 จุดแข็ง .ม.อุบล จุดอ่อน ม.อุบล
1. มีความสามารถในการพัฒนามหาวิทยาลัยเป็นอย่างดี 2. มีการพัฒนาและกำลังเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง 3. มีผลงานวิจัยทางวิชาการที่มีคุณภาพ จุดอ่อน ม.อุบล 1.ขาดการพัฒนาที่ทั่วถึงภายในมหาวิทยาลัย 2.ผลงานของนักศึกษายังไม่เป็นที่รู้จักมากพอในสังคม 3.มหาวิทยาลัยยังไม่เป็นที่ยอมรับและเป็นที่ต้องการของตลาดงาน

49 โอกาสในการพัฒนา 1. มีโอกาสที่จะพัฒนาให้เป็นที่รู้จักในด้านวิชาการและด้านอื่นๆ 2. สามารถขยายสาขาเพื่อการศึกษาให้ทั่วถึงไปยังจังหวัดใกล้เคียงได้ เช่น วิทยาเขตมุกดาหาร เพื่อเป็นการส่งเสริมการศึกษาและเพื่อแสดงให้เห็นถึงคุณภาพ และศักยภาพของมหาวิทยาลัยต่อสังคม 3.ผลงานทางด้านการศึกษาและนักศึกษาที่จบออกไปเป็นที่ยอมรับของตลาดงานและสังคม เป็นมหาวิทยาลัยอันดับต้นๆ ที่มีผู้ต้องการเข้าศึกษามากที่สุดในประเทศ

50 ปัญหาและอุปสรรค 1.ขาดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องอาจจะเนื่องจากในเรื่องของงบประมาณ 2.ขาดการประชาสัมพันธ์ที่ดี 3.ขาดบุคคลกรที่มีความสามารถเฉพาะทางในด้านต่างๆหรือมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ผู้เรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google