งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง

2

3

4

5

6

7

8

9

10 วิธีการสกัด การสกัดสะเดาด้วยน้ำ การสกัดสะเดาด้วยเอทธิลอัลกอฮอล์

11 วิธีการสกัดสะเดาด้วยน้ำ
หมัก 1-2 วัน เมล็ดสะเดาบด 1 ก.ก. + น้ำ 20 ลิตร คั่นเอากากออก น้ำสกัดสะเดา 20 ลิตร

12 ประมาณ 3-4 ครั้งต่อเนื่อง
การนำไปใช้ น้ำสกัดสะเดา 5 ลิตร น้ำสะอาด 200 ลิตร + + สารจับใบ ฉีดพ่นทุก วัน/ ครั้ง ประมาณ ครั้งต่อเนื่อง

13 การสกัดด้วยเอทธิลอัลกอฮอล์
วัสดุอุปกรณ์ เมล็ดสะเดาบด ก.ก. เหล้าขาว ขวด น้ำสะอาด ลิตร น้ำส้มสายชู 5% ขวด ภาชนะสำหรับหมัก

14 + น้ำส้มสายชู 5% 1 ขวด

15 3. เติมน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด
วิธีการสกัด มีดังนี้ 1. นำสะเดาบด 5 กก. มาผสมกับเอทธิลแอลกอฮอล์ 95% หรือเหล้าขาว จำนวน 4 ขวด และน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วหมักในภาชนะ ปิดฝาให้สนิท ทิ้งไว้ 1 คืน 3. เติมน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด 1. เทสะเดาบดในถังหมัก 2. เติมเหล้าขาว 4 ขวด 4. ใช้ไม้คน

16 2. นำสะเดาที่หมักแอลกอฮอล์ ตามข้อ 1
2. นำสะเดาที่หมักแอลกอฮอล์ ตามข้อ 1. มาผสมรวมกับน้ำสะอาด จำนวน 5 ลิตร หมักทิ้งไว้ 3 วัน เติมน้ำ 5 ลิตร

17 3. เมื่อหมักตามข้อ 2. เสร็จแล้ว นำมากรองเอาเฉพาะของเหลวที่ได้ (น้ำสกัด 1) ใส่ภาชนะทึบแสงปิดฝาให้สนิท เก็บไว้ในที่ร่ม กรองน้ำสกัดที่ 1

18 4. นำกากสะเดาที่ได้ไปหมักกับแอลกอฮอล์ 40% (เหล้าขาว) 2 ขวด, น้ำส้มสายชู ½ ขวด และน้ำสะอาด 2 ลิตร วิธีการหมักเหมือนเดิมทุกขั้นตอน แล้วกรองเอาเฉพาะของเหลว (น้ำสกัด 2) 3. เติมน้ำ 2 ลิตร 1. เติมเหล้าขาว 2 ขวด 4. กรองน้ำสกัดที่ 2 2. เติมน้ำส้มสายชู 5% ½ ขวด

19 สารสกัดสะเดาพร้อมใช้งาน
5. หลังจากนั้น นำกากสะเดาบดที่เหลือไปหว่านในแปลงพืชผัก หรือโคนไม้ผล เพื่อใช้ประโยชน์ในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ในกรณีที่ยังมีสารที่เป็นประโยชน์ตกค้างอยู่ และเมื่อกากสะเดาเน่าเปื่อยก็จะกลายเป็นปุ๋ยให้กับพืชต่อไป 6. นำของเหลวที่ได้จากข้อ 3 และ ข้อ 4 (น้ำสกัด 1 และ 2) มาผสมรวมกัน แล้วผสมสารจับใบตามฉลากคำแนะนำ แล้วนำไปใช้ได้เลย กรองใส่ขวด สารสกัดสะเดาพร้อมใช้งาน

20 การนำไปใช้ พืชผัก 30-40 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ
พืชผัก ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ ไม้ผล ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ นาข้าว ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร + สารจับใบ

21 1. กรณีใช้ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
ใช้ ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 5-7 วัน/ ครั้ง ติดต่อกัน 3-4 ครั้ง 2. กรณีศัตรูพืชระบาด ใช้ ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 3-5 วัน/ ครั้ง ติดต่อกัน 3-4 ครั้ง 1. ในขณะฉีดพ่น ควรปรับหัวฉีดให้เป็นฝอยแล้วฉีดแค่เปียกไม่ต้องโชก ฉีดพ่นในช่วงแสงแดดอ่อนหรือช่วงเย็นเท่านั้น ทุกครั้งต้องผสมสารจับใบ ข้อ ควรระวัง

22 วิธีการเก็บรักษาผลและเมล็ดสะเดา

23 1. เก็บในลักษณะผลแห้ง ผึ่งตากแดด 1 อาทิตย์ เมล็ดสะเดาสุก
1. เก็บในลักษณะผลแห้ง ผึ่งตากแดด 1 อาทิตย์ ผึ่งในร่ม อาทิตย์ เมล็ดสะเดาสุก บรรจุกระสอบเก็บไว้ใช้

24 2. เก็บในรูปเมล็ดแห้ง เมล็ดสะเดาสุก เครื่องแยกเมล็ดสะเดาออกจากเนื้อ

25 เชื้อราไตรโคเดอร์มา เป็นเชื้อราชั้นสูง สร้างเส้นใยสีขาว มีสปอร์สีเขียว
เป็นเชื้อราชั้นสูง สร้างเส้นใยสีขาว มีสปอร์สีเขียว เจริญได้ดีในดิน เศษซากพืช ซากสิ่งมีชีวิต รวมทั้ง จุลินทรีย์และอินทรียวัตถุตามธรรมชาติ เป็นปฏิปักษ์กับเชื้อราโรคพืชหลายชนิด

26 กลไกการต่อสู้กับเชื้อโรคพืช
1. การแข่งขันกับเชื้อโรคพืช

27 2. การเป็นปรสิต โดยการพันรัดเส้นใยเชื้อราโรคพืช. - ไคติเนส (chitinase)
2. การเป็นปรสิต โดยการพันรัดเส้นใยเชื้อราโรคพืช - ไคติเนส (chitinase) - เบต้า-1,3 กลูคาเนส (β-1,3 glucanase) เซลลูเลส (cellulase)

28 3. สร้างปฏิชีวนสาร

29 เพิ่มการเจริญเติบโต/ ผลผลิต
ประโยชน์ของเชื้อราไตรโคเดอร์มา ลดกิจกรรมเชื้อโรค เพิ่มความต้านทานโรค ลดปริมาณเชื้อโรค เพิ่มการเจริญเติบโต/ ผลผลิต

30

31

32

33

34 โรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน

35 โรครากเน่าโคนเน่าส้ม


ดาวน์โหลด ppt ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google