งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สารเคมีกำจัดศัตรูพืช"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
คือ วัตถุมีพิษที่นำมาใช้ป้องกันกำจัดศัตรูพืช สัตว์ และมนุษย์ ทั้งในการเกษตร อุตสาหกรรมและ สาธารณสุข

2 เมื่อได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเข้าร่างกาย
ผลกระทบต่อสุขภาพ เมื่อได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเข้าร่างกาย จะเกิดปฎิกิริยาเคมีกับเอนไซม์ในร่างกาย มีผลทำให้เกิดการขัดขวางการทำหน้าที่ตามปกติ ของระบบประสาททั้งในคนและสัตว์

3 ขึ้นกับคุณสมบัติสารเคมีแต่ละชนิด วิธีการได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย
ความเป็นพิษ ขึ้นกับคุณสมบัติสารเคมีแต่ละชนิด วิธีการได้รับสารเข้าสู่ร่างกาย ปริมาณความถี่ สุขภาพของผู้ได้รับสารพิษ อาการที่ปรากฏ อ่อนเพลีย ปวดศรีษะ มึนงง หายใจลำบาก แน่นในอก คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน กล้ามเนื้อโดยเฉพาะที่ลิ้นและหนังตา กระตุก ชักหมดสติ

4 ผักสด ผลไม้สด ตัวอย่างเป้าหมาย วิธีการตรวจสอบ ใช้ชุดทดสอบตรวจ

5 ชุดทดสอบหายาฆ่าแมลงในอาหาร (กลุ่มฟอสเฟต, คาร์บาเมต)

6 ปริมาณสารเคมี กำจัดศัตรูพืชกลุ่มสารประกอบ
เกณฑ์กำหนด ปริมาณสารเคมี กำจัดศัตรูพืชกลุ่มสารประกอบ ฟอสเฟตและหรือสารคาร์บาเมต ที่ให้ผลขัดขวาง การทำงานของเอ็นไซม์โคลีนเอสเตอเรส ได้ไม่เกิน ร้อยละ 50 ผักสด ผลไม้สด ตัวอย่างเป้าหมาย ปลาเค็ม

7 อุปกรณ์ระเหยตัวอย่าง จีที 1 หลอดหยดพลาสติก จีที 2 จีที 2.1 หลอดหยดแก้ว
อุปกรณ์ชุดทดสอบ อุปกรณ์อื่น น้ำยาสกัด 1 ถาดน้ำอุ่น เทอร์โมมิเตอร์ น้ำยาสกัด 2 อุปกรณ์ระเหยตัวอย่าง จีที 1 หลอดหยดพลาสติก จีที 2 จีที 2.1 หลอดหยดแก้ว จีที 3 จีที 3.1 หลอดทดลอง จีที 4 ขวดพลาสติก จีที 5 ที่ตั้งหลอด คู่มือชุดทดสอบ

8 อุณหภูมิ องศา C

9 4 ขีด = 1 มิลลิลิตร 2 ขีด = 0.5 มิลลิลิตร 1 ขีด ครึ่ง

10 ขั้นตอนการทดสอบ หั่นให้เล็ก ๆ

11 ตักประมาณ 5 กรัม ใส่ขวดพลาสติก สูง 2 ขีด
ผัก ผลไม้ ที่มีน้ำมาก ตักประมาณ 2.5 กรัม ใส่ขวดพลาสติก สูง 1 ขีด

12 เติมน้ำยาสกัด 1 …..5 มิลลิลิตร
ทิ้งไว้ประมาณ… นาที

13 ดูดน้ำยาจากสารละลายสกัดตัวอย่าง 1 มิลลิลิตร
ดูดน้ำยาจากสารละลายสกัดตัวอย่าง 1 มิลลิลิตร กรณี ผัก ผลไม้ ที่มีน้ำมากดูดสารละลายสกัด 2 มิลลิลิตร

14 เติมน้ำยาสกัด 2 …..1 มิลลิลิตร

15 ต้งแต่ขั้นตอนนี้ทำในอ่างน้ำอุ่น
ระเหยจนชั้นล่าง (สกัด 1) จนแห้ง ต้งแต่ขั้นตอนนี้ทำในอ่างน้ำอุ่น

16 หลอดที่ 1 หลอดที่ 2 หลอดที่ 3 ดูดน้ำยาสกัด 2 จำนวน 1 ขีด (0.25 มล.)
ดูดน้ำยาจากสกัดตัวอย่าง จำนวน 1 ขีด (0.25 มล.) เติมน้ำยา GT 1 จำนวน 2 ขีด (0.50 มล.)

17 เติมน้ำยา GT 1 จำนวน 2 ขีด (0.50 มล.)
(30 นาที) ทิ้งไว้ นาที

18 ระหว่างรอเวลา ผสมสารละลายดังนี้
GT 2.1 ลงใน GT 2 GT 3.1 ลงใน GT 3

19 หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 เติมน้ำยา GT 2 ผสม จำนวน 1.5 ขีด
(0.375 มล.) เติมน้ำยา GT 2 ผสม จำนวน 1 ขีด (0.25 มล.) ทิ้งไว้ 30 นาที ตามเวลาที่เขียนไว้ที่ GT 1

20 หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2
เติมน้ำยา GT 3 ผสม จำนวน 4 ขีด (1 มิลลิลิตร)

21 หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2
เติมน้ำยา GT 4 จำนวน 2 ขีด (0.50 มิลลิลิตร)

22 หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2
เติมน้ำยา GT 5 จำนวน 2 ขีด (0.50 มิลลิลิตร)

23 อ่านผล หลอดที่ 1 หลอดที่ 2 หลอดที่ 3

24 อ่านผล หลอดที่ 3 สีอ่อนหรือเท่ากับ หลอดที่ 2 ไม่พบยาฆ่าแมลง หลอดที่ 2 หลอดที่ 3

25 อ่านผล หลอดที่ 3 สีอ่อนกว่า หลอดที่ 1 แต่เข้มกว่าหลอดที่ 2 พบยาฆ่าแมลง อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัย หลอดที่ 1 หลอดที่ 2 หลอดที่ 3

26 พบยาฆ่าแมลงในปริมาณมากเกินค่าความปลอดภัย
อ่านผล หลอดที่ 3 สีเข้มกว่าหรือเท่ากับ หลอดที่ 1 หลอดที่ 1 หลอดที่ 3 หลอดที่ 2 พบยาฆ่าแมลงในปริมาณมากเกินค่าความปลอดภัย

27 แนวทางการปฎิบัติเมื่อใช้ชุดทดสอบเสร็จแล้ว
1. ผักที่มีน้ำยาสกัด 1 แช่อยู่ในขวดพลาสติก ให้เทใส่ภาชนะปากกว้าง นำไปวางกลางแดดหรือวางที่โล่งแจ้งให้น้ำยาระเหยหมด ก่อนที่นำไปทิ้ง (ระวังอย่าวางใกล้เปลวไฟ ทำให้น้ำยาสกัด 1 ติดไฟได้) 2. น้ำยาสสมจีที 2 และ น้ำยาผสมจีที 3 เมี่อผสมแล้วเก็บในตู้เย็น ใช้ได้ 1 สัปดาห์

28 ข้อควรระวัง น้ำยาทดสอบบอแรกซ์ 1 มีสภาพเป็นกรด หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ให้ล้างด้วยน้ำและฟอกสบู่ให้สะอาด อย่าวางชุดทดสอบไว้ไกล้มือเด็ก

29 น้ำยาที่ใช้ในการตรวจ หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย
ข้อควรระวัง น้ำยาที่ใช้ในการตรวจ หากหกเปื้อนมือหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ให้ล้างด้วยน้ำและฟอกสบู่ให้สะอาด อย่าวางชุดทดสอบไว้ไกล้มือเด็ก

30 การเก็บรักษาชุดทดสอบ
เก็บในตู้เย็น 4 องศาเซลเซียส อายุการใช้งาน 6 เดือน

31 คำแนะนำเพื่อความปลอดภัยในการบริโภค
ล้างผักและผลไม้ด้วยน้ำสะอาดหลาย ๆ ครั้ง แช่ผักและผลไม้ในน้ำยาล้างผัก และล้างน้ำยา ให้หมดด้วยน้ำสะอาดหลาย ๆ ครั้ง ผักและผลไม้ที่ปอกเปลือกได้ ควรล้างน้ำ ให้สะอาดก่อนปอกเปลือก การต้มจะช่วยลดปริมาณสารเคมีในผักสดได้

32 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรัง


ดาวน์โหลด ppt สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google