งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน

2 ข้อมูลทั่วไปจังหวัดน่าน
สปป.ลาว พื้นที่ทั้งหมด 1, ตร.กม. พท.อันดับที่ ของประเทศ จำนวน ปชก. อันดับที่ 52 ของประเทศ อาณาเขตติดกับ สปป.ลาว ระยะทาง 277 กม. ปชก.ชาย ,021 คน ปชก.หญิง 235,709 คน รวม ,730 คน พะเยา 15 อำเภอ 99 ตำบล 889 หมู่บ้าน 143,489 หลังคาเรือน สปป.ลาว 28 ชุมชนเขตเมือง 1 เทศบาลเมือง 15 เทศบาลตำบล 1 อบจ. 83 อบต. แพร่ อุตรดิตถ์

3 ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข
รพท เตียง แห่ง รพร เตียง แห่ง รพช เตียง แห่ง รพช เตียง แห่ง รพช เตียง แห่ง รพ.ค่ายสุริยะพงษ์ แห่ง ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาล 1 แห่ง รพสต แห่ง สสช แห่ง แพทย์ คน ทันตแพทย์ คน เภสัชกร คน พยาบาล คน นวก.สาธารณสุข คน เจ้าพนักงานสาธารณสุข 154 คน อาสาสมัครสาธารณสุข 11,199คน

4 ปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญ
กลุ่มโรคติดต่อ ได้แก่ โรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่ ปอดบวม ปอดอักเสบ AIDS วัณโรคระยะแพร่เชื้อ อาหารเป็นพิษ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตวาย โรคมะเร็ง และปอดอุดกั้นเรื้อรัง กลุ่มโรคไม่ติดต่อทั่วไป ได้แก่ โรคขาดสารไอโอดีน ภาวะสารพิษตกค้างในเกษตรกร อุบัติเหตุขนส่ง

5 สาเหตุการตาย 1 - 10 อันดับแรก จ. น่าน ปี 2547 – 2553
สาเหตุการตาย อันดับแรก จ. น่าน ปี 2547 – 2553 อัตรา/แสน 5

6 สาเหตุการตาย จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ. น่าน ปี 2547 – 2553
อัตรา/แสน 6

7 อัตราป่วยต่อแสนประชากร ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ
อัตราป่วยต่อแสนประชากร ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ. น่าน ปี 2550 – 2553

8 อัตราป่วยโรค Pneumonia จังหวัดน่านปี 2550 - 2554 (อัตราต่อแสนประชากร)

9 อัตราป่วยโรค Influenza จังหวัดน่านปี 2550 - 2554 (อัตราต่อแสนประชากร)

10 อัตราป่วยโรค Food poisoning จังหวัดน่านปี 2550 - 2554 (อัตราต่อแสนประชากร)

11 อัตราป่วยโรค Tuberculosis จังหวัดน่านปี 2550 - 2554 (อัตราต่อแสนประชากร)

12 ร้อยละการตรวจพบ(Detection rate) ผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อรายใหม่ จำแนกรายโรงพยาบาล จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2554 เป้าหมาย 70%

13 อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรค

14 ผลการดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน ปี 2554

15 การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค
1. แต่งตั้งคณะกรรมการอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็ง ระดับจังหวัด / อำเภอ 2. ประชุมชี้แจงอำเภอและติดตามในการประชุมคณะกรรมการวางแผน ประเมินผล 3. อบรมทีมวิทยากรจังหวัด/อำเภอ(SRRT) 15 อำเภอ 4. อบรมทีมตำบล (SRRT) 40 รพ.สต. และทีมอำเภอ ดำเนินการขยายผลให้ครอบคลุมในพื้นที่ระดับตำบล 5. ประชุมชี้แจงอำเภอเป้าหมาย คืออำเภอเวียงสากับอำเภอปัว 6.นิเทศติดตามอำเภอ ร่วมกับทีมนิเทศระดับจังหวัด -ทีมผู้บริหาร,ทีมเฉพาะกิจ

16 เป้าหมาย ปี 2554 อำเภอThe must - อำเภอเวียงสา
อำเภอ The best - อำเภอปัว

17 ประเมินคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง
ครั้งที่ 1 แบบประเมินตนเอง โดย ประธาน คณะกรรมการสุขภาพระดับอำเภอหรือสาธารณสุข อำเภอ ครั้งที่ 2 ประเมินตนเองผ่าน เว็บไซต์ ประเมินคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง 5 ด้าน ดังนี้ คณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี การวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม ผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญตาม นโยบายกระทรวงสาธารณสุขและเป็นปัญหาในพื้นที่

18 ผลการประเมินตนเองครั้งที่ 1 แยกรายอำเภอ จ.น่าน
ผ่านเกณฑ์ 40คะแนน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 66.66

19 ผลการประเมินตนเองครั้งที่ 2 แยกรายอำเภอ จ.น่าน
ผ่านเกณฑ์ 40 คะแนน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100

20 ปัจจัยความสำเร็จ ทุนเดิมของระบบสาธารณสุขจังหวัดน่านที่มีชุมชนเป็นฐาน
การสนับสนุนจากภาคีเครือข่าย อปท./อสม./องค์กรภาครัฐ ชุมชนมีส่วนร่วมและมีแนวทางชัดเจนโดยใช้ SRM./SLM

21 ปัญหา/ส่วนขาด กลไกการสนับสนุนอำเภอของจังหวัด (สสจ.ฝ่ายเลขาฯ)
งบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานอำเภอ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปบทเรียนระดับจังหวัด 21

22 ปัญหาอุปสรรคและสิ่งต้องการสนับสนุน
ความไม่พร้อมของ อปท. ในบางแห่ง (บุคลากร/งบประมาณ) การพัฒนาองค์ความรู้การป้องกันควบคุมโรคของ อปท. การพัฒนาทีม SRRT.ตำบลอย่างต่อเนื่อง งบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/สรุปบทเรียนระดับจังหวัด/เขต

23 สวัสดี... 23


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google