งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
YES NO

2 การพัฒนาระบบการส่งตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโรคธาลัสซีเมีย (PND) ด้วยวิธีการเจาะน้ำคร่ำ โดย ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี

3 เป้าหมายงาน Thal คือ : การลดทารกเกิดใหม่ให้ป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง 3 โรค 1.Bart’s Hydrops Fetalis 2.Homozygous -thalassemia 3.-thal/ Hb E

4 กรมอนามัยได้กำหนดแนวทาง
เพื่อลดโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง(3 โรค) ไว้ 4 ขั้นตอน ดังนี้ ให้ความรู้และให้การปรึกษา การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การวินิจฉัยก่อนคลอด (PND) *** การให้ทางเลือกแก่คู่สมรส เมื่อทราบว่า ทารกในครรภ์เป็นโรค

5

6 การประเมินผลดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย (เขต 11,14) ปี 2549
ผลการดำเนินงาน ปีงบฯ2549 New ANC (OF,DCIP) * 39,307 ราย 80.8 (%) Husband 74.1(%) Hb-typing/PCR 50.5/6.3 (%) Risk Couple 57 คู่ Risk Couple จริงที่ทำPND (36 คู่) 63.2 (%) Severe Thal 4 (ราย) *** Terminate (Pregnant) 1 ราย (33.3 %)

7 ผลการดำเนินงานปี 2549 จำนวนหญิงตั้งครรภ์และสามีที่ส่งตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด 57 ราย (ที่ มข.)

8 ปัญหา - ความครอบคลุมในการตรวจคัดกรอง และการตรวจยืนยันเพื่อวินิจฉัย จนถึง ขั้นตอนสิ้นสุดค่อนข้างต่ำ - ระบบเครือข่ายไม่เอื้ออำนวยต่อการ ตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด (PND) - ขาดการประสานงานที่มีประสิทธิภาพ ระหว่างผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

9 นำไปสู่ การพัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายฯ ในปี 2550 โดยการพัฒนาศูนย์อนามัยที่ เป็นศูนย์กลางเจาะน้ำคร่ำส่ง ตรวจเพื่อการวินิจฉัยทารกในครรภ์

10 เป็นคู่เสี่ยงต่อ Hb Bart”s hydrop
รับบริการที่ สอ/ รพ.ต้นสังกัด ตรวจคัดกรองที่โรงพยาบาลต้นสังกัด OF/DCIP พบผลผิดปกติ เป็นคู่เสี่ยงต่อ Hb Bart”s hydrop ให้ส่ง PCR for α 1 trait ที่ศูนย์วิทย์ฯ ถ้าเป็นคู่เสี่ยงต่อ -thal diaease , Hb E disease ส่งตรวจ รพท./รพศ. (รพ.ต้นสังกัด สามารถแบ่งเลือดส่งตรวจไปพร้อมกันทั้ง 2 กรณีได้ ถ้าข้อจำกัดด้านอายุครรภ์ที่มากแล้ว) GA< 16 wk. หญิงตั้งครรภ์ และสามี เป็นคู่เสี่ยงต่อ Hb Bart”s hydrop เป็นคู่เสี่ยงต่อ -thal diaease / -thal /E- disease รพ.ที่มีสูติแพทย์ สามารถทำ Serial U/S และพิจารณา ทำยุติการตั้งครรภ์ รพ.ที่ไม่มีสูติแพทย์ หรือไม่สามารถ ดำเนินการต่อได้ เจาะน้ำคร่ำ ที่ ศูนย์อนามัยที่ 7 เพื่อส่ง ตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด (PND) (ก่อนเจาะน้ำคร่ำ จะเจาะเลือดคู่สมรสเพื่อ ส่งตรวจ PCR สาย  ที่ มข.) ในปีแรก - แช่เย็นนำส่งโดยทาง รถยนต์ราชการ(ไป-กลับภายใน 1 วัน) ปีที่ 2 –นำส่งทางไปรษณีย์ มข

11 ผลงาน ปี 2550 : พบคู่เสี่ยง 33 คู่ รวม 16 48.5 3 20.0
ชนิดของ ธาลัสซีเมีย ผลการตรวจวิเคราะห์เลือดด้วยวิธี PCRในคู่เสี่ยง (n=33) จำนวนที่เจาะน้ำคร่ำ/ ผลการตรวจวิเคราะห์น้ำคร่ำ (n=15) จำนวนคู่เสี่ยงจริง ร้อยละ จำนวน (คน)  0-thal / Hb E 11 68.8 1 33.3 Hb-Bart’s Hydrop Fetalis 5 31.2 2 66.7 รวม 16 48.5 3 20.0

12 ผลการดำเนินงานปี 2550 จำนวนคู่เสี่ยงที่ส่งต่อมาเพื่อมารับบริการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอด 33 ราย แยกรายจังหวัด

13 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่เสี่ยงจริงที่มีโอกาสให้กำเนิดบุตร เป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงแยกรายจังหวัด ปี 50 (รวม 16 ราย =48.5%)

14 ศอ. 7 ทำหนังสือแจ้งเวียนการดำเนินงานตามเครือข่ายใหม่ ให้กับ สสจ
ศอ.7 ทำหนังสือแจ้งเวียนการดำเนินงานตามเครือข่ายใหม่ ให้กับ สสจ.ทุกแห่ง ประสานต่อให้ รพ.ได้พิจารณา/ถือปฏิบัติ ประเมินผล : โดย - ระบบรายงาน - ติดตามประเมินผลระบบการ ดำเนินงานใน รพศ/รพท.

15 ผลพบว่า : 1. จากการนิเทศติดตามพบ : เกิดศูนย์บริการเจาะน้ำคร่ำฯ
ที่ รพศ.สปส. เพียงแห่งเดียว 2. ข้อมูลการดำเนินงาน ส่วนใหญ่มีเฉพาะผลการ ตรวจคัดกรองฯ

16 ผลงานหลังจากสิ้นสุดการพัฒนาระบบฯ ที่ ศอ.7 ........ถ่ายทอดระบบสู่เครือข่ายฯ
ผลการดำเนินงาน ปี 2552 ปี 2553 New ANC (OF,DCIP) 94.0% 96.4% Husband 40.4% 55.2% Hb-typing/PCR Risk Couple ( ราย) Risk Couple (PND) (ราย) Severe Thal (ราย) Terminate (Pregnant)

17

18 ประเด็นที่พบ : จากการผลประเมินฯ ในปี 2551-2552
ประเด็นที่พบ : จากการผลประเมินฯ ในปี - พบมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการบริหารจัดการงบประมาณของประเทศ ปี 2551 การคัดกรองในหญิงตั้งครรภ์ พบปัญหา หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ช้า ไม่คัดกรองกรณีอายุครรภ์เกิน 16 สัปดาห์ ไม่ส่งตรวจยืนยันเพื่อวินิจฉัยพาหะกรณี แอลฟ่า (บุคลากรไม่ทราบว่าต้องตรวจ / งบประมาณจำกัด) การให้คำปรึกษาไม่มีประสิทธิภาพ (ผู้ให้คำปรึกษาแปลผลไม่ได้ / ไม่ทราบว่าเป็นคู่เสี่ยง)

19 ประเด็นที่พบ: จากการผลประเมินฯ ในปี 2551-2552
ประเด็นที่พบ: จากการผลประเมินฯ ในปี (ต่อ) ผู้รับบริการเข้าไม่ถึงบริการ /แบกรับค่าใช้จ่ายการเดินทางไปรับบริการฯ (ซึ่งอยู่ไกล) ขาดการมีส่วนร่วมของนักเทคนิคการแพทย์ในการดำเนินงานฯ/ส่งต่อให้กับผู้เกี่ยวข้อง การส่งต่อคู่สมรส/ติดตามคู่เสี่ยง ขาดการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ ระบบข้อมูลในขั้นตอนการส่งตรวจยืนยัน....การทำ PND ขาดการรวบรวมและส่งต่อข้อมูล ที่เป็นระบบฯ

20 เราจะก้าวต่อไป. เพื่อการพัฒนาที่ดีขึ้นในงานธาลัสซีเมีย เพราะว่า
เราจะก้าวต่อไป.....เพื่อการพัฒนาที่ดีขึ้นในงานธาลัสซีเมีย เพราะว่า....พวกเราชาว สา”สุข ได้ชื่อว่าเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพมากที่สุด...เหนือกว่าบุคลากรของ กระทรวงใดๆ ในประเทศไทย


ดาวน์โหลด ppt ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google