งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556

2

3 “เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค”
แผนการดำเนินงาน คร. ปีงบประมาณ พ.ศ “เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค” พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1. พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 2. พัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เครือข่ายระดับตำบล เพื่อการเตรียมความพร้อมและ ตอบโต้รับมือต่อโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาการพยากรณ์โรค 4. การพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC (IHR2005, Joint Outbreak Investigation, HR) โรคติดต่อ 5. ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ และพัฒนาคุณภาพบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ผู้ใหญ่และเด็กในประเทศไทย 6. เร่งรัดผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้ ประสบความสำเร็จมากกว่า ร้อยละ 88 7. เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในอำเภอที่มีความเสี่ยงสูง 8. ป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก 9. พัฒนาเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนงานเร่งรัดกำจัด โรคพิษสุนัขบ้า ปี2555 (ชุมชนปลอดพิษสุนัขบ้า) 10. ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ แผนวาระแห่งชาติด้านวัคซีน โรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง 11. พัฒนามาตรการการควบคุมแอลกอฮอล์ระดับชาติ 12. พัฒนานโยบาย/กฏหมายและดำเนินการเฝ้าระวังยาสูบระดับชาติ (ชุมชนปลอดเหล้า,บุหรี่) 13. สื่อสาร รณรงค์ป้องกันควบคุมโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด) (ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรค) โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม วัยทำงาน ลดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 14. พัฒนาเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส 15. พัฒนางานอาชีวอนามัย ในสถานประกอบการ-ขนาดใหญ่ ในโรงพยาบาล ในบางอาชีพแท๊กซี่ จุดเน้นการพัฒนางานกรมควบคุมโรค 2555 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค เน้นการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยอาศัยกลไกและการพัฒนาเครื่องมือทางวิชาการ ดังนี้ - พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ต่อเนื่อง - สร้างความเข้มแข็งทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) - พัฒนาการพยากรณ์โรคเพื่อการเตือนภัยล่วงหน้า - มีแผนการดำเนินงานที่สำคัญในการควบคุมโรคดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ และพัฒนาคุณภาพบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี / เอดส์ผู้ใหญ่และเด็กในประเทศไทย - เร่งรัดผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้ประสบความสำเร็จมากกว่า ร้อยละ 85 - เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในอำเภอที่มีความเสี่ยงสูง - ป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก - พัฒนาเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนงานเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2555 - จัดตั้งสถาบันวัคซีนแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2555 กลุ่มโรคไม่ติดต่อ และปัจจัย - พัฒนามาตรการการควบคุมแอลกอฮอล์ระดับชาติ - พัฒนานโยบาย / กฎหมายและดำเนินการเฝ้าระวังยาสูบระดับชาติ - สื่อสาร รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด) โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - พัฒนาเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใสต่อเนื่อง - โรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม - โครงการแท็กซี่สุขภาพ (ส่งเสริมสุขภาพผู้ประกอบอาชีพขับแท๊กซี่และการป้องกันการระบาดของโรค)

4 แนวทางการดำเนินงาน/กิจกรรมปี 2556 (กรม คร.)
แนวทางการดำเนินงาน/กิจกรรมปี (กรม คร.)  ด้านนโยบาย ผลักดันเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าราชการจังหวัด พัฒนากลไกความร่วมมือฯ ส่วนกลาง : กรมปกครองส่วนท้องถิ่น / สคร. : ผู้ว่าฯ เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ สัมมนาเครือข่ายกลุ่มงานควบคุมโรค กำหนดเป็นนโยบายที่ต่อเนื่อง 3 – 5 ปี

5 แนวทางการดำเนินงาน/กิจกรรมปี 2556 (กรม คร. ต่อ)
ด้านวิชาการ อบรม SRRT ตำบล ที่เหลือ พัฒนาเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ ประเมิน เป็นพี่เลี้ยง พัฒนาอำเภอฯ ตามคุณลักษณะที่กำหนด สนับสนุนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนางานควบคุมอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ติดตามและประเมินรับรองมาตรฐาน

6 ตัวชี้วัดสำคัญ ของงานอำเภอเข้มแข็งแบบยั่งยืน 2555
ตัวชี้วัดสำคัญ ของงานอำเภอเข้มแข็งแบบยั่งยืน 2555 ตัวชี้วัด 0303 ร้อยละ 50 ของอำเภอเป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนตามลักษณะที่กำหนด ตัวชี้วัด .....ร้อยละของทีม SRRT ตำบลมีรายงานการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ ผ่านระบบ Online ของสำนักระบาดวิทยา (รายเดือน ย้อนหลัง 6 เดือน) สำนักตรวจราชการเขต 10 กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

7 ทิศทางดำเนินงานอำเภอเข้มแข็ง จ.อุดรธานี ปี 2556
ผลักดันเป็นตัวชี้วัด กพร.ประเมินจังหวัด (MOU สธ,มท แล้ว) เน้นให้อำเภอดำเนินการอย่างจริงจังตามตัวชี้วัด และผ่านการประเมินตามเกณฑ์ (เอกสาร รายงานตรวจสอบยืนยันได้) สนับสนุนความเข้มแข็งของ ทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบลในการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประกวดอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ระดับจังหวัด

8 ตัวชี้วัดสำคัญงานอำเภอเข้มแข็ง จ.อุดรธานี ปี 2556
ร้อยละความสำเร็จการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน อย่างมีคุณภาพ ร้อยละของการบันทึกเหตุการณ์ผิดปกติ (Events) online / รพ.สต./ เดือน (ย้อนหลัง 6 เดือนก่อนวันประเมิน)

9 อำเภอเข้มแข็งโรคตามนโยบายและโรคตามพื้นที่ จ.อุดรธานี


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google