งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พญ. ศิริพร กัญชนะ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2

3 อัตราการสูญเสียปีสุขภาวะใน 3 กลุ่มโรค

4 ภาระทางสุขภาพ 20 อันดับแรกของประชากรไทย พ.ศ. 2547
ที่มา: คณะทำงานศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยง

5 ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญ ที่ทำให้สูญเสียปีสุขภาวะ
ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข

6 นโยบายรัฐบาล นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ข้อ ปรับปรุงบริการด้านสาธารณสุข ยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล

7 ระบบบริการสุขภาพของไทย
ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (94) บริการตติยภูมิ จังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (724) บริการทุติยภูมิ อำเภอ (10, ,000) สถานีอนามัย (9,770) บริการปฐมภูมิ ตำบล (1,000-10,000) PCU ศสมช สาธารณสุขมูลฐาน หมู่บ้าน (80,000) SELF CARE ครอบครัว

8 นิยามโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล เน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระัดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน พร้อมกับมีความสามารถในการให้บริการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพเพิ่มขึ้น โดยเป็นเครือข่ายกับโรงพยาบาลชุมชน หรือ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป และสามารถให้คำปรึกษา/ส่งต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมง 8

9 ลักษณะที่สำคัญ มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยมีพื้นที่รับผิดชอบ (catchment area) ในระดับตำบล และมีเครือข่ายร่วมกับสถานีอนามัย และ หน่วยบริการสุขภาพอื่น ในตำบลข้างเคียง เน้นการให้บริการแบบเชิงรุก ที่มีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับบริบทความพร้อม/ ศักยภาพของชุมชน บุคลากรที่มีความรู้และทักษะแบบสหสาขาวิชา (skill mix) ทำงานเป็น team work มีการให้บริการสุขภาพที่มีความเชื่อมโยงกับบริการสุขภาพในระดับอื่นที่สูงกว่าโดยสามารถให้คำปรึกษาและส่งต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมง มีการปฏิรูปการบริหารจัดการ (3/4 ประสาน)โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ประชาชน อปท. ภาคราชการ เอกชน และทุกภาคส่วน 9

10 ขอบเขตการให้บริการ ให้บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคและรักษาพยาบาลกับประชากร บุคคล ครอบครัว ชุมชน รวมถึงเรื่องสิ่งแวดล้อม 10

11 ขนาด โรงพยาบาลตำบลขนาดเล็ก – ประชากรไม่เกิน 3000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 5 คน โรงพยาบาลตำบลขนาดกลาง – ประชากรไม่เกิน 6,000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 7 คน โรงพยาบาลตำบลขนาดใหญ่ – ประชากรมากกว่า 6,000 คน ควรมีเจ้าหน้าที่ประมาณ 9-10 คน 11

12 เป้าหมายและระยะเวลา ระยะ จำนวนโรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล ช่วงเวลา
Phase 1 – ระยะเริ่มต้นและนำร่อง อย่างน้อย 1 แห่งใน 1 อำเภอที่มีความพร้อมของ CUP กันยายน 2552 Phase 2 – ระยะขยายผล เพิ่มเติมอีก 1000 แห่ง กันยายน 2553 Phase 3 – ขยายครอบคลุมทั่วประเทศ ในตำบลที่เหลือทั้งหมด ตุลาคม2554 –กันยายน2562 Phase 4 – ติดตามประเมินผลและสนับสนุนการพัฒนา ตุลาคม 2553 – กันยายน 2562

13 แนวทางการดำเนินงานโครงการ
โครงสร้างพื้นฐาน ปรับปรุงให้มีห้องตรวจรักษาผู้ป่วย(ชั้นล่าง) เตียงสังเกตุอาการ อย่างน้อย 3 เตียง ระบบการสื่อสารกับแม่ข่าย มีครุภัณฑ์ อุปกรณ์การแพทย์ตามมาตรฐาน พาหนะเยี่ยมบ้าน 13

14 แนวทางการดำเนินงานโครงการ
บุคลากร พยาบาลเวชปฏิบัติ อย่างน้อย 1 คน ทีมสร้างเสริมสุขภาพ ตามขนาดของ รสต. 14

15 แนวทางการดำเนินงานโครงการ
บริการ รักษาพยาบาลคุณภาพสูงขึ้น ส่งต่อ รวดเร็ว ครบวงจร คัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เยี่ยมบ้าน ดูแลผู้ป่วย เพิ่มศักยภาพบุคคลในครอบครัว เครือข่าย อสม. ตรวจ กระตุ้นพัฒนาการ ในเด็ก วัคซีน 15

16 แนวทางการดำเนินงานโครงการ
บริการ หญิงวัยเจริญพันธุ์ ได้รับ ธาตุเหล็ก+โฟลิค กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ การออกกำลังกาย บุคคลและชุมชน ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมอาหารปลอดภัย คนไทยไร้พุง 16

17 แนวทางการดำเนินงานโครงการ
บริหารจัดการ คณะกรรมการบริการ รพสต. กระบวนการประชาคมในการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 17

18 ระบบสนับสนุนที่ต้องการ
ระบบข้อมูลสุขภาพ (health information system) ระบบการปรึกษาทางไกล (Real time consultation) ระบบการส่งต่อ (Referral System) การแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่มีคุณภาพเช่นเดียวกับโรงพยาบาลแม่ข่าย การสนับสนุนและการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนและ อปท. 18

19 ประชาชนได้อะไร ความครอบคลุม (coverage) ของบริการขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น
การให้วัคซีน การฝากครรภ์ ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพชีวิต (Quality of life) ของประชาชนดีขึ้น อัตราทารกตาย และ แม่ตายลดลง การเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนในระดับตำบลดีขึ้น ลดความแออัดของโรงพยาบาลแม่ข่ายลง จำนวนผู้ป่วย ข้ามจากตำบลมาโรงพยาบาลอำเภอ/จังหวัดลดลง การนอนโรงพยาบาลจากโรคแทรกซ้อนหรือโรคป้องกันได้ลดลง 19

20 ประชาชนได้อะไร มีการค้นพบผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มมากขึ้น
ภาวะแทรกซ้อนโรคเรื้อรังลดลง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมารับบริการจำนวนเพิ่มขึ้น (คน/ครั้ง) อัตราตายลดลง 20

21 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google