งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การดำเนินการบนเซต ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1

2 นิยาม 4.4 ให้ A และ B เป็นเซตใดๆ U เป็นเอกภพสัมพัทธ์
(ก) ยูเนี่ยน (union) ของเซต A และ B เขียน แทนด้วย A  B หมายถึง A  B = {x | x  A  x  B] ยูเนี่ยนคือเลือกเอาสมาชิกทั้งหมดของทั้ง A และ B ที่ไม่ซ้ำกัน

3 นิยาม 4.4 ให้ A และ B เป็นเซตใดๆ U เป็นเอกภพสัมพัทธ์
(ข) อินเตอร์เซคชั่น (intersection) ของเซต A และ B เขียนแทนด้วย A  B หมายถึง A  B = {x | x  A  x  B] อินเตอร์เซคชั่นคือการเลือกเอาสมาชิกที่ซ้ำกันของ A และ B

4 นิยาม 4.4 ให้ A และ B เป็นเซตใดๆ U เป็นเอกภพสัมพัทธ์
(ค) ผลต่าง (difference) ระหว่างเซต A และ B เขียนแทนด้วย A - B หมายถึง A - B = {x | x  A  x  B] ผลต่างคือการเลือกเอาสมาชิกที่อยู่เฉพาะใน A แต่ไม่อยู่ใน B

5 นิยาม 4.4 ให้ A และ B เป็นเซตใดๆ U เป็นเอกภพสัมพัทธ์
(ง) คอมพลีเมนต์ (complement) ของเซต A เขียนแทนด้วย A’ หมายถึง A’ = U-A ={x | x  U  x  A] คอมพลีเมนต์คือ สมาชิกอื่นๆที่ไม่อยู่ในเซตนั้นนั่น คือ A  A’ = U

6 ตัวอย่างการหายูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชั่น
ให้ A = {0,2,4,6,8} และ B = {1,2,3,4} ดังนั้น (ก) A  B = {0,1,2,3,4,6,8} (ข) A  B = {2,4} (ค) A – B = {0,6,8} (ง) B – A = {1,3}

7 ตัวอย่าง ให้ A = {0,2,4} และ B = {1,3,5} ดังนั้น
(ค) A – B = {0,2,4} = A (ง) B – A = {1,3,5} = B

8 ตัวอย่าง ให้ U = {1,3,5,7,9} และ A = {1,3} แล้ว A’ = {5,7,9}


ดาวน์โหลด ppt ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google