งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ – 2552 ระบบบัญชี เกณฑ์ งบการเงิน ปีงบประมาณ ส่ง สตง. ตรวจสอบ ในปีงบประมาณ สตง. ให้การรับรอง วันเดือนปี ที่รับรอง เงินสด - เกณฑ์คงค้าง 2532 2539 2542 17 มีนาคม 2542 หรือ 2533 – 2544 (12 ปี) 2547 2549 27 กรกฎาคม 2549 เกณฑ์พึงรับพึงจ่าย 2545 – 2547 (3 ปี) 2548 2550 23 สิงหาคม 2550 (Accrual Basic) 2548 – 2549 (2 ปี) 2551 22 กันยายน 2551 25 กันยายน 2551 2552 25 สิงหาคม 2552 24 เมษายน 2552 มีแผนเข้าตรวจในปี 2553 ภายใน 60 วัน นับจาก สิ้นปีงบประมาณ

2 ระบบบัญชีกองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ต้องทำตามนโยบายบัญชีภาครัฐที่กระทรวงการคลังกำหนด ทำตามนโยบายและขอบเขตของระบบบัญชีกองทุนฯ ที่กรมบัญชีกลางให้ถือปฏิบัติ ดังนี้ 2.1 ใช้ระบบบัญชีคู่ เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis) แยกบัญชีกองทุนฯ ออกเป็นอีกชุดหนึ่งจากระบบ บัญชีเงินงบประมาณของ ส.ป.ก. ใช้หลักกระจายอำนาจ (Decentralized)

3 2.4 หลักการบัญชี รายการบัญชี ทั้งหมดมี 5 หมวดได้แก่
2.4 หลักการบัญชี รายการบัญชี ทั้งหมดมี 5 หมวดได้แก่ ทรัพย์สิน หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย สมการบัญชี ทรัพย์สิน = หนี้สิน + ทุน รายได้สูงต่ำกว่าค่าใช้จ่าย = รายได้ - ค่าใช้จ่าย ทรัพย์สิน หนี้สินและทุน - เงินสด/เงินฝากธนาคาร/เงินฝากคลัง 500 หนี้สิน - ลูกหนี้ -เจ้าหนี้เกษตรกร 80 - ลูกหนี้เงินกู้ 2,700 -เจ้าหนี้พันธบัตร 25 - ลูกหนี้เช่าซื้อที่ดิน 1,600 4,300 -ดอกเบี้ยพันธบัตรค้างจ่าย 15 120 - ลูกหนี้เงินยืม 150 ทุน ที่ดิน 6,850 -กองทุนการปฏิรูปที่ดินฯ 10,360 - สิทธิประโยชน์ในที่ดิน 70 -รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 1,520 11,880 - อาคารและสิ่งก่อสร้าง 30 (รายได้–ค่าใช้จ่าย = 3,520-2,000 = 1,520) - ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ 100 รวม 12,000

4 หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ
หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ หลักการบัญชีเกี่ยวกับทรัพย์สิน (1) ที่ดิน ควบคุมที่ดินทุกประเภทที่ ส.ป.ก. ได้มาเพื่อการปฏิรูปฯ (ก) “ที่ดิน” หมายถึง ยอดรวมมูลค่าที่ดินเอกชน เช่น ที่ดินจัดซื้อ ที่เวนคืน ที่บริจาค และที่ดินพระราชทาน รวมกัน ที่ดินเอกชน = มูลค่าที่ดินในราคาทุนที่ซื้อมา แต่กรณี ที่ดินบริจาค = ราคาประเมินกรมที่ดินในปีที่รับบริจาค (ข) “สิทธิประโยชน์ในที่ดิน” หมายถึง ที่ดินของรัฐ เช่น ที่ราชพัสดุ ที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่ป่าสงวนฯ ที่ดินของรัฐ = มูลค่าที่ดินที่จัดให้เข้าทำประโยชน์แล้ว

5 หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ
หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ (2) อาคารและสิ่งก่อสร้าง ครุภัณฑ์ จะรับรู้เฉพาะทรัพย์สินที่ซื้อ หรือได้มา / หน่วย / ชุด มีมูลค่าขั้นต่ำตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป (3) ลูกหนี้ (ก) การเช่าซื้อที่ดิน บัญชี “ลูกหนี้เช่าซื้อที่ดิน” = มูลค่าที่ดินที่ซื้อมา การรับรู้ “ดอกเบี้ยเช่าซื้อ” ให้เป็นลักษณะเดียวกับการรับรู้ ดอกเบี้ยจากการให้กู้ยืมเงิน (ข) การให้สินเชื่อ แสดงไว้ในบัญชี “ลูกหนี้เงินกู้” และรับรู้ “ดอกเบี้ยเงินกู้” ให้ถือเป็นรายได้

6 หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ
หลักการบัญชี ที่กำหนดไว้ในระบบบัญชีกองทุนฯ 2.4.2 หลักการบัญชีหนี้สิน เจ้าหนี้ หรือค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หมายถึง หนี้สินที่เกิดจากภาระผูกพัน ตามกฎหมาย/สัญญา หรือจากการรับสินค้า/บริการ แล้วยังไม่ได้ชำระเงิน 2.4.3 หลักการบัญชีทุน ทุน หมายถึง “กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม” 2.4.4 หลักการบัญชีรายได้ รายได้ หมายถึง รายได้ทุกประเภทที่กองทุนได้รับ 2.4.5 หลักการบัญชีค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย หมายถึง ค่าใช้จ่ายในลักษณะจ่ายขาด ที่ไม่ต้องใช้คืนกองทุน


ดาวน์โหลด ppt การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google