งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล

2 ความเป็นมา 1. ม 47 พรบ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2545
1. ม 47 พรบ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2545 2. ความหมาย สถานะของ กองทุนหลักประกันสุขภาพ 3. วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ และเงื่อนไขการยุบเลิกกองทุน 4. งบสนับสนุน (PPA) + งบสมทบ

3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมหน่วยบริการ PCU
2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม เข้าถึงบริการ 3. เพื่อสนับสนุนกลุ่ม/องค์กร ปชช. ในพื้นที่ จัดกิจกรรมส่งเสริมป้องกัน 4. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการกองทุน

4 องค์ประกอบ 1. นายก อบต. หรือ นายกเทศมนตรี ประธาน
1. นายก อบต. หรือ นายกเทศมนตรี ประธาน 2. ผู้ทรงคุณวุฒิในพื้นที่ 2 คน 3. สมาชิกสภา อบต. / สภาเทศบาล 2 คน 4. หน. หน่วยบริการปฐมภูมิ ทุกแห่งในพื้นที่ 5. ผู้แทน อสม. ที่คัดเลือกกันเอง 2 คน 6. ผู้แทนประชาชนในหมู่บ้าน / ชุมชน 5 คน 7. ผู้แทนศูนย์ประสานงานหลักประกันฯ หรือศูนย์รับเรื่องร้องเรียน ศูนย์ละ 1 คน ปลัด อบต. / ปลัดเทศบาล หรือ จนท.อื่น เป็นเลขานุการ

5 กลไกการกำกับและประเมินผล
การดำเนินงานกองทุน กลยุทธ / กลไก จัดกลไกสนับสนุนด้านวิชาการ โดย ฝ่ายสาธารณสุข มีบทบาทในการ สะท้อนปัญหา แนะนำ ช่วยเหลือ ส่งเสริม องค์กรชุมชน / ประชาชน ให้มีบทบาทการตรวจสอบ เสนอแนะ และมีส่วนร่วมดำเนินงาน กลไกการกำกับและประเมินผล

6 การจัดบริการสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ ใน 5 กลุ่มเป้าหมาย
การดำเนินงานกองทุน กรอบการดำเนินงาน การจัดบริการสุขภาพตามชุดสิทธิประโยชน์ ใน 5 กลุ่มเป้าหมาย การสนับสนุนหน่วยบริการสุขภาพในท้องถิ่น การสร้างเสริมสุขภาพ โดยการริเริ่มของประชาชนและชุมชน การบริหารจัดการกองทุน

7 ภาพรวมงบส่งเสริมป้องกัน ปี 53
งบ กสธ. งบ PP งบพัฒนา จว. งบท้องถิ่น 199.22 สมทบ PP exp. demand PP Nat. Priority PP area based 15.17 125.64 58.41 PP itemized 31.79 PP capitation 93.85 กองทุนตำบล PPA 18.41 40.00 (สถานบริการสุขภาพ) (ส่งเสริมป้องกันในพื้นที่)

8 สสจ. อปท. สสอ/รพช. รพสต./สอ. การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล ? กองทุนตำบล ?
PPA 40.00 สสจ. อปท. ? กองทุนตำบล สสอ/รพช. สมทบ 20-50% ? รพสต./สอ. คกก.บริหารกองทุน

9 งบกองทุน กับงบ PPA สสจ. 6000 แห่ง 1933.5 1831

10 ประชาสัมพันธ์ รับสมัครกองทุนตามหลักเกณฑ์ประจำปี
การดำเนินงานกองทุน แนวทางของ สปสช. ประชาสัมพันธ์ รับสมัครกองทุนตามหลักเกณฑ์ประจำปี การพิจารณาเห็นชอบการจัดตั้งกองทุน บันทึกข้อตกลง ชี้แจง อบรมกองทุน การสนับสนุนการดำเนินงานกองทุน

11 บทบาทของกองทุน เน้นความต้องการของประชาชน
การดำเนินงานกองทุน บทบาทของกองทุน เน้นความต้องการของประชาชน รูปแบบการบริหารกองทุน ที่หลากหลาย สนับสนุนให้ ประชาชน มีส่วนร่วม ผลดำเนินงาน จัดตั้งกองทุน 6,000 แห่ง (2553) งบ 1,453 ล้านบาท ครอบคลุม ปชก ล้านคน (ไม่รวม กทม. + โคราช) ท้องถิ่น ตื่นตัว และกระตือรือร้นอย่างมาก ฝ่ายสาธารณสุข ยังไม่มีบทบาทเท่าที่ควร การจัดการสุขภาพในท้องถิ่น ???

12 ความล่าช้าในการเบิกจ่ายเงินกองทุน (ส่วนใหญ่)
การดำเนินงานกองทุน ปัญหาอุปสรรค ความล่าช้าในการเบิกจ่ายเงินกองทุน (ส่วนใหญ่) ความไม่เข้าใจในบทบาทของกองทุน - ฝ่ายบริหาร vs ฝ่ายปฏิบัติ - ท้องถิ่น vs สาธารณสุข การนำเงินกองทุนไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ ขาดการติดตาม กำกับ ประเมินผล เพื่อปรับปรุงแก้ไข

13 โครงสร้างการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 36 กองทุน
บริบทท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กองทุนขนาดใหญ่ 8 ผู้แทนชุมชน การจัดตั้งกองทุน เทศบาลนคร/เมือง อสม. จนท. สาธารณสุข การบริหารกองทุน กองทุนขนาดกลาง 12 สาธารณสุขอำเภอ เทศบาลตำบล/อบต.ใหญ่ การดำเนินงานกองทุน ผอก. รพ./ นักวิชาการ การสนับสนุนกองทุน กองทุนขนาดเล็ก 16 ผู้บริหาร สธ.จังหวัด อบต.กลาง/เล็ก ผอ. สปสช. เขต ผลกระทบจากกองทุน จำนวน/ประเภทกองทุน ผู้ให้ข้อมูล ประเด็นศึกษา

14 ผลการวิจัย ผู้นำท้องถิ่น ชุมชน สอ. และผู้บริหาร สธ. เห็นด้วยกับแนวคิดกองทุน การจัดตั้งกองทุน มีส่วนกระตุ้น อปท. สนใจ/สนับสนุนงานสาธารณสุขในพื้นที่มากขึ้น ปัญหาการดำเนินงาน 3 ปีแรก ขาดการเตรียมความพร้อม ผู้บริหารท้องถิ่นยังไม่เข้าใจ กองทุน 70.4% มีขนาดเล็ก ต่างคนต่างทำ ไม่มียุทธศาสตร์ร่วมกัน ขาดระบบการกำกับดูแล และตรวจสอบการใช้จ่ายเงิน ขาดการมีส่วนร่วมจากผู้บริหารของ จังหวัด/อำเภอ

15 ผลการวิจัย ผลกระทบจากการดำเนินงานกองทุน
1. การบริหารนโยบายสุขภาพ ขาดเอกภาพ การบูรณาการในภาพรวมของจังหวัด เนื่องจากขาดกลไกการประสานแผนระหว่างภูมิภาคกับท้องถิ่น 2. งบส่งเสริมป้องกันของ สสจ. มีแนวโน้มลดลง ส่งผลต่อการบริหารเพื่อรองรับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขโดยตรง 3. การสาธารณสุขเขตเมือง มีแนวโน้มที่เทศบาลจะเป็นหน่วยหลักทั้งรักษา และส่งเสริมป้องกัน โดยรับโอนค่าใช้จ่ายรายหัวจาก รพศ./รพท. เป็นผลให้กลุ่มงานเวชกรรมสังคมต้องปรับบทบาทในอนาคต 4. สอ.ได้รับผลกระทบมากหรือน้อย ขึ้นกับงบประมาณจาก CUP และ สสจ. อย่างน้อยงบ PP community ที่ สอ.เคยได้รับเฉลี่ย 1-2 แสนบาทต่อแห่งถูกทยอยโอนให้กองทุน


ดาวน์โหลด ppt การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google