งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
กฤช ลี่ทองอิน ผู้จัดการกองทุนอาวุโส สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

2 วัตถุประสงค์ของงบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
เพื่อให้ประชาชนที่มีสิทธิเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพื่อลดภาระโรค

3 กรอบการบริหารงบ P&P เป็นการบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัวแก่คนไทยทุกสิทธิ เพื่อเป็นค่าชดเชยบริการสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ของหน่วยบริการ และสถานพยาบาลที่จัดบริการ P&P เพื่อแก้ไขปัญหาสาธารณสุข (P&P) เฉพาะพื้นที่ หรือภาพรวมประเทศ จังหวัดและเขต เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการ บูรณาการให้เกิดแผนและการบริการ P&P พื้นที่ ภายใต้กรอบการและแนวทางของ สปสช.

4

5 กรอบการบริหารงบ P&P ปี 2554
P&P Capitation ( บาท ต่อปชก.ทุกสิทธิ ล้านคน) คำนวณจาก บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน ล้านคน NPP &Central Procurement 934 ลบ.(14.52 บ./ปชก.) P&P Area based 3,760 ลบ. (58.41 บ./ปชก.) P&P Expressed demand 6,964 ลบ.( บ./ปชก.) บริหารแบบเขตบริการสุขภาพภายใต้ อปสข. Itemized 9 รายการ (28.69บ./ปชก.) Capitation (79.48 บ./ปชก.) Area problem ระดับเขต (18.41+ส่วนที่เหลือ) กองทุน อปท. 934 ลบ.(40.00) Diff. by age group หักเงินเดือน หน่วยบริการ/ สถานพยาบาล/ หน่วยอื่นๆที่ให้บริการ CUP Expressed demand 9 กิจกรรมหลัก ได้แก่ ANC, PNC, FP, TSH, EPI, คัดกรองมะเร็งปากมดลูก, Depression, คัดกรองความเสี่ยงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

6 CIPP Model CIPP Context: Environment & Needs
Input: Strategies & Resources Process: Monitoring implementation Product: Outcomes - both quality and significance The CIPP was developed by D. Stufflebeam (see annotated bibliography for references) A comprehensive framework for guiding formative and summative evaluations Based on a presumption that evaluation’s most important purpose is not to prove but to improve programs Has evolved over 30 years but remained up to date with new ideas from evolving approaches – e.g. Patton’s Utilization-focused evaluation, Guba & Lincoln’s Stakeholder focused evaluation CIPP adapts well to carrying out evaluations on any scale (projects, programs, organizations) An organizing framework, not a lockstep linear process Sensitive to needs of decision makers (more detail on that ahead…) Systems approach – for that reason, using logic modeling to get a systems view of projects and programs can be a useful first step Multiple observers and informants Mining existing information Multiple procedures for gathering data; cross-check qualitative and quantitative Independent review by stakeholders and outside groups Feedback from Stakeholders

7 CIPP View of Institutionalized Evaluation
CIPP provides a systematic way of thinking about how evaluation can contribute to short term and long term organizational planning CIPP for Decision Makers C: Define goals and priorities I: Assess competing proposals in terms of feasibility, alignment with goals P: Provide context for interpreting outcomes, plan for service improvement P: Keep organization focused on achieving important outcomes, gauge success of efforts Connects manager / decision-maker thinking with an evaluation structure that all staff can contribute to and see themselves as a part of Stufflebeam sees Input as potentially the most neglected type of evaluation (Stufflebeam, OPEN, 2003) Provides a framework for integrating evaluation as an activity central to achieving broader organizational goals Illustrates the focus of the model on use of evaluation information to shape goals, plans, and actions Stufflebeam, OPEN, 2003

8 อยากรู้อะไร ผลผลิต/ผลลัพธ์
□ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการมากน้อยเพียงไร □ผลลัพธ์และผลกระทบเป็นอย่างไร

9 กลุ่มเป้าหมายและตัวชี้วัด??
หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด เด็กเล็ก ( แรกเกิด – อายุ < 3 ปี) เด็กวัยเรียน ( 3 – <6 ปี) เด็กประถมศึกษา ( 6 - < 13 ปี) เด็กโต ( 13 – <19 ปี) เยาวชน ( < 25 ปี) ผู้ใหญ่ ( 25 - < 35 ปี ) ผู้ใหญ่ ( 35 - < 60 ปี ) ผู้สูงอายุ

10 18 แฟ้ม (OP/PP Individual Records)
การสำรวจ 18 แฟ้ม (OP/PP Individual Records) E-Claim (IP Individual Records) ระบบรายงาน 11 รง 5 การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง กรมควบคุมโรค ทุก 3 ปี การสำรวจภาวะสุขภาพและตรวจร่างกาย สวรส. ทุก 5 ปี

11 อยากรู้อะไร กระบวนการ □หน่วยบริหารจัดการอย่างไร
□หน่วยบริการจัดบริการอย่างไร

12 อยากรู้อะไร ทรัพยากร □กำลังคนเพียงพอหรือไม่ □งบประมาณเพียงพอหรือไม่

13 อยากรู้อะไร สภาพแวดล้อม □ปัจจัยที่เอื้อ □ปัจจัยที่ขัดขวาง

14 งบ P&P ระดับพื้นที่ แนวทาง ดำเนินงานร่วมกันระหว่าง สปสช. เขต และ เขตตรวจราชการสาธารณสุข ภายใต้หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการจัดสรรงบของคณะกก.ระดับเขต โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่นและเอกชน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในระดับจังหวัดและเขต 2. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้นให้หน่วยบริการจัดบริการเชิงรุกในชุมชน โดย การมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชนให้ประชาชนเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ 3. เพื่อสนับสนุนและจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

15 งบ P&P ระดับพื้นที่ 1. จัดสรรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ อบต./เทศบาล ในอัตรา 40 บาท/ปชก. 2. จัดสรรให้ สปสช.สาขาจังหวัดเพื่อดำเนินงาน P&P สำหรับพื้นที่ และชุมชนในอัตรา บาท/ปชก.รวมกับส่วนที่เหลือจากการ จัดสรรใน ข้อ 1. (ปรับเกลี่ยในระดับประเทศ )

16 CIPP Model CIPP Context: Environment & Needs
Input: Strategies & Resources Process: Monitoring implementation Product: Outcomes - both quality and significance The CIPP was developed by D. Stufflebeam (see annotated bibliography for references) A comprehensive framework for guiding formative and summative evaluations Based on a presumption that evaluation’s most important purpose is not to prove but to improve programs Has evolved over 30 years but remained up to date with new ideas from evolving approaches – e.g. Patton’s Utilization-focused evaluation, Guba & Lincoln’s Stakeholder focused evaluation CIPP adapts well to carrying out evaluations on any scale (projects, programs, organizations) An organizing framework, not a lockstep linear process Sensitive to needs of decision makers (more detail on that ahead…) Systems approach – for that reason, using logic modeling to get a systems view of projects and programs can be a useful first step Multiple observers and informants Mining existing information Multiple procedures for gathering data; cross-check qualitative and quantitative Independent review by stakeholders and outside groups Feedback from Stakeholders

17 ความคาดหวัง ต้องการทราบว่าแผนงาน/โครงการบรรลุวัตถุประสงค์เพียงใดและนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการหรือไม่ การใช้ทรัพยากรของแผนงาน/โครงการโปร่งใส ตรวจสอบได้ สารสนเทศที่ได้จากการติดตามประเมินผลช่วยเป็นพื้นฐานในการตัดสินใจ กาวางแผนและการพัฒนาแผนงาน/โครงการต่อไปได้รับการปรับปรุงจากบทเรียนที่ได้รับ

18 Source: UNICEF, A UNICEF Guide for Monitoring and Evaluation: Making a Difference?

19 สรุปข้อเสนอแนะการติดตามประเมินผลปี 2553
ควรพัฒนาศักยภาพทีมประเมินระดับเขต ศูนย์วิชาการควรมีผู้รับผิดชอบ M&E สนย.เป็นหน่วยหลักในการพัฒนาศักยภาพ ศูนย์วิชาการควรมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนบูรณาการเชิงรุกของจังหวัด กระบวนการทำงานของจังหวัดควรได้รับการปรับปรุง ส่วนกลางควรกำหนดตัวชี้วัดพร้อมถ่ายทอดสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน ควรพัฒนาบทบาทของจังหวัดในการกำกับติดตาม ควรพัฒนาบทบาทของ สสอ.ในการสนับสนุนวิชาการแก่กองทุนฯ

20 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google