งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กีฎวิทยาและการควบคุม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กีฎวิทยาและการควบคุม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 กีฎวิทยาและการควบคุม
แมลงวัน กีฎวิทยาและการควบคุม โดย… บุญเทียน อาสารินทร์ นักวิชาการสาธารณสุข 7ว สคร.ที่ 6 จ.ขอนแก่น

3 อนุกรมวิธาน

4 โครงสร้างของแมลงวัน ประกอบด้วย 3 ส่วน 1. ส่วนหัว 2. ส่วนอก 3. ส่วนท้อง

5 ชนิดปากของแมลงวัน ปากแบบดูดซับ ปากแบบเจาะดูด

6 Halter ของแมลงวัน ช่วยในการทรงตัว ขณะบิน

7 ส่วนท้องด้านบนแมลงวัน
> ตัวผู้มี 8 ปล้อง > ตัวเมียมี 9 ปล้อง แต่เห็นชัดเพียง 4 ปล้อง

8 ตาของแมลงวันใช้แยกเพศ

9 ตาของแมลงวันใช้แยกเพศ
เพศเมีย เพศผู้

10 ตาของแมลงวัน ตารวม ตาเดี่ยว

11 วงจรชีวิตของแมลงวัน 2-3 วัน 4-6 วัน 1/2 -1 วัน 4-6 วัน

12 Adult อายุ ตัวผู้ 17 วัน ตัวเมีย 30 วัน ตัวเมียผสมพันธุ์ครั้งเดียว
วางไข่ครั้งละ ฟอง วางได้ 4-6 ครั้ง กินน้ำและน้ำตาล (คาร์โบไฮเดรท)เป็นอาหาร ตัวเมียต้องการโปรตีนเพื่อเลี้ยงไข่ บินสุ่มหาอาหารกระตุ้นด้วยการมองเห็นและรับกลิ่น อุณหภูมิ ความชื้น กระแสลม แสง สี

13 Eggs วางไข่บนสิ่งขับถ่าย มูลสัตว์ สิ่งปฏิกูลที่มีความชื้นสูง
ไข่มีรูปร่างเรียวยาวคล้ายกล้วยหอม สีขาวขุ่นจนถึงสีครีม ขนาดขึ้นอยู่กับชนิดของแมลงวัน การเจริญขึ้นอยู่กับอาหารและอุณหภูมิ

14 Larval ลำตัวมี 12 ปล้อง 3 ระยะ ทรงกลมยาวคล้ายเม็ดข้าวสาร
หัวค่อนข้างแบนส่วนท้ายกลม อาหารได้แก่ แบคทีเรีย ยีสต์ เศษสิ่งปฏิกูล อุณหภูมิที่เหมาะสม 35 0 C ต้องการความชื้นสูงมาก อยู่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน

15 Pupa อยู่บริเวณใกล้แหล่งอาหาร ที่แห้ง ความชื้นต่ำ
ผิวหนังจะเริ่มแข็งและหดสั้น จากสีขาวครีมจนเป็นสีค่อนข้างดำ การเจริญขึ้นกับอุณหภูมิ

16 Breeding Sites

17 House fly Blow fly แมลงวันชนิดต่างๆ Flesh fly Stable fly

18 Scudder Grill (Scudder, 1945)

19 ผลกระทบจากแมลงวัน 1. ก่อให้เกิดความรำคาญ 2. ทำให้สูญเสียเลือด
3. เป็นพาหะนำโรคแก่คนและสัตว์

20 วิธีการนำโรคของแมลงวัน
1. เชื้อโรคติดไปกับส่วนต่างๆของร่างกาย 2. เชื้อโรคถูกขับออกมาพร้อมกับน้ำลาย 3. เชื้อโรคถูกขับออกมากับอุจจาระ

21 โรคที่นำโดยแมลงวัน 1. โรคจากแมลงวันไม่ดูดกินเลือด
โรคระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ โรคบิด โรคไข้รากสาด โรคอหิวาตกโรค โรคหนอนพยาธิ โรคผิวหนัง ได้แก่ โรคคุดทะราด โรคเรื้อน โรคเกี่ยวกับตา : ตาแดง

22 โรคที่นำโดยแมลงวัน 2. โรคจากแมลงวันที่ดูดกินเลือด โรคแอนแทรกซ์
โรคพยาธิใบไม้ในเลือดของสัตว์

23 Fly control 1. วิธีด้านสุขวิทยาและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
2. วิธีการใช้สารเคมี 3. วิธีกล 4. วิธีกายภาพ 5. ชีววิธี 6. วิธีทางกฎหมาย

24 Fly control 1. วิธีด้านสุขวิทยาและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
ได้แก่ การกำจัดและลดแหล่งเพาะพันธุ์ เช่น ความสะอาด กำจัดขยะมูลฝอย

25 Fly control 2. วิธีใช้สารเคมี ได้แก่ 2.1 การพ่นควบคุมหนอนแมลงวัน
- ขณะพ่นให้ขุดคุ้ยแหล่งเพาะพันธุ์ - ใช้เครื่องพ่นอัดลม - diazinon g/m2 - diflubenzuron 1 g/m2 - cyromazine g/m2

26 Fly control 2.2 Residual spray ( ตัวเต็มวัย )
- ควรพ่นที่เป็นแหล่งเกาะพัก/ใกล้แหล่งเพาะพันธุ์ - ควรพ่นในอาคาร/โรงเรือน - อัตราออกฤทธิ์ขึ้นกับชนิดของสารนั้นๆ - อัตราพ่น สารผสม 4-8 ลิตร/100 m2

27 Fly control 2.3 การใช้สารกำจัดแมลงชุบวัสดุแขวน
โดยใช้เชือกป่าน/วัสดุที่เหมาะสมยาว 1-2 ม. ชุบน้ำตาลผสมกาวทำให้มีสีดำผสมสารเคมี เช่น diazinon / fenitrothion /pirimiphos methyl 8-10 % เปลี่ยนวัสดุทุก 2-3 เดือน

28 Fly control 2.4 การใช้เหยื่อพิษ ( Toxic baits ) - Dry scatter bait
- Liquid sprinkle bait - Liquid dispenser bait - Viscous paint-on bait

29 Fly control 2.5 Space spray - พ่นแหล่งเกาะพักได้ทั้งใน-นอกอาคาร
- พ่นเพื่อให้ถูกตัวตาย - mist spraying - fogging - ULV

30 Fly control การควบคุมแมลงวัน (ต่อ) 3. โดยวิธีกล ได้แก่ - การใช้มุ้งลวด
- การใช้ไม้ตีแมลงวัน - การใช้กรงดักแมลงวัน 4. โดยวิธีกายภาพ การใช้กับดักไฟฟ้าและแสงไฟ มีผลต่อแมลงวันน้อย แต่จะเหมาะต่อ แมลงที่หากินกลางคืน

31 Fly control 5. โดยชีววิธี ได้แก่
- การใช้ตัวห้ำ: ไรบางสกุลจะกินไข่/ตัวอ่อนระยะ 1 - การใช้ตัวเบียน: ตัวต่อบางชนิดทำลายระยะดักแด้ - การใช้จุลินทรีย์และเชื้อรา

32 Fly control 6. โดยทางกฎหมาย : ควบคุม , บังคับ

33 SIMPLE METHOD OF GETTING FLY OUT OF YOUR SIGHT ! ! ! ! ! !
IF YOU ARE WILLING TO DO IT ?

34 สวัสดี

35 Thank you for trying to kill us in a wise manner
Quiet please I’m trying to get my DNA into the next generation


ดาวน์โหลด ppt กีฎวิทยาและการควบคุม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google