งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย รองอธิบดีกรมควบคุมโรค มิถุนายน 2554

2 วิสัยทัศน์ กรมควบคุมโรค
“เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายใน ปี 2563 ” 2

3 ปัจจุบัน อนาคต ไม่เป็นระบบ??
กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ ปัจจุบัน อนาคต 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน 4.มีการระดมทุนฯ 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??

4 นิยาม “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง
อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ 4

5 กรอบแนวคิด 5 คุณลักษณะ ของ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
1. มีคณะกรรมการฯ : ภาคส่วนที่สำคัญมีส่วนร่วม เช่น อปท. สาธารณสุข อสม. 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี : ข้อมูล ทันสถานการณ์ 3. มีการวางแผนฯ : แนวทางแก้ไข ตามปัญหาพื้นที่ 4. มีการระดมทุน 5. มีผลสำเร็จของการควบคุม ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ : แก้ไขปัญหาพื้นที่ทันการณ์ SRRT ตำบล

6 แนวทางในการดำเนินงาน
 อำเภอประเมินตนเอง (self assessment) วัตถุประสงค์ : เพื่อสื่อสารคุณลักษณะให้ผู้เกี่ยวข้องในอำเภอได้ทราบ  จังหวัดคัดเลือกอำเภอที่โดดเด่น 1 อำเภอ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้จังหวัดทราบศักยภาพของอำเภอ  กรมควบคุมโรคดำเนินการประเมิน วัตถุประสงค์: ทราบรูปแบบการดำเนินงาน & ค้นหาปัจจัยแห่งความสำเร็จ  กรมควบคุมโรคคัดเลือก 18 จาก 76 อำเภอ วัตถุประสงค์ : ขยายผลปัจจัยแห่งความสำเร็จ 6

7 ขั้นตอน กระบวนงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ
1. อำเภอ ประเมินตนเอง (self assessment) รอบที่ 1 มค.-มีค.54 ส่งแบบ self assessment ให้จังหวัด หรือ Key in ผ่านเวบไซด์ 2. จังหวัด รวบรวม วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 1 สรุป : อำเภอที่ได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 80,สัดส่วนอำเภอที่ผ่าน เพื่อรายงานผู้ตรวจ พัฒนาส่วนขาด เรียนรู้ความ สำเร็จอำเภอเข้มแข็ง 3. สคร. วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 1 ร่วมตรวจราชการ โดยใช้ข้อมูลการประเมินรอบที่ 1 ของจังหวัดนั้น ให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนา รายงานผลตรวจของจังหวัดในวันที่ตรวจ รายงานผลตรวจภาพรวมเขต 15 วันหลังตรวจ 6. สคร (พค.–มิย.). วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 2 ประเมินอำเภอ ตัวแทนและข้างเคียง ร่วมตรวจราชการรอบที่ 2 รายงานผลตรวจของจังหวัดในวันที่ตรวจ รายงานผลตรวจภาพรวมเขต 15 วันหลังตรวจ คัดเลือกตัวแทนเขตตรวจ 5. จังหวัด (พค. -มิย.) รวบรวม วิเคราะห์ self assessment รอบที่ 2 สรุป : อำเภอที่ได้คะแนนตั้งแต่ ร้อยละ 80,สัดส่วนอำเภอที่ผ่าน เพื่อรายงานผู้ตรวจ คัดเลือกอำเภอตัวแทนจังหวัด 4. อำเภอ (พค.) ประเมินตนเอง (self assessment)รอบที่ พค.54 ลงข้อมูล self assessment ผ่านเวบไซด์ 7

8 ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์
กลไก ความก้าวหน้า และแผนการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปี 54 ปี 53 ปี 53 ปี ปี 54 สธ. อนุมัติโครงการ/ โอนเงินให้ สสจ. สื่อสาร สนับสนุนอำเภอฯ อบรม SRRT ตำบล (6.9 ล้าน) เป็นตัวชี้วัด“ผู้ว่าฯ” “ผู้ตรวจ คณะที่ 3” “คำรับรองกรม/หน่วยงาน” จัดทำแผนแม่บท เชิดชู ให้รางวัล กย. 54 กระทรวงฯ ประกาศนโยบาย 16 กย อิมแพ็ค เมืองทอง MOU : ปลัดกระทรวง อธิบดี คร. นายก อบต.แห่งประเทศไทย พัฒนากลไกความร่วมมือระหว่างกรมภายในกระทรวงฯ กรมปกครองส่วนท้องถิ่น สปสช. : MOU, KPI ร่วมระดับกระทรวง กรม จังหวัด ด้านนโยบาย อบรม “หลักสูตร SRRT ตำบล (ครู ก) ” ให้ สคร. สสจ สสอ. สสจ.+สคร. อบรม SRRT ตำบล 4,666 แห่ง (ม.ค. – ก.พ.) จากทั้งหมด 9,750 แห่ง สคร. สื่อสาร แนวทางและการประเมินผลฯ สัมมนา 4 ภาค (กพ.- มีค. ขอนแก่น / นครนายก/ เชียงใหม่/ นครศรีธรรมราช) ประชุมจังหวัด/ ผู้ตรวจเขตฯ/ เอกสาร 5. สนับสนุน ชุดความรู้ “คู่มือ SRRT ตำบล” สื่อสาร ระดมความคิดเครือข่ายหลัก : สสจ. (ผชชว. กลุ่ม คร./ระบาด) อำเภอ (รพช./สสอ.) ตำบล (รพสต./สอ.) สื่อมวลชน 2. พัฒนา หลักสูตรฯ คู่มือ เกณฑ์ แนวทางการประเมินฯ อบรม SRRT ตำบล ที่เหลือ 5,084 แห่ง สนับสนุนข้อมูลวิชาการ ชี้เป้าปัญหา มาตรการ คู่มือ แนวทางฯ ประเมินและพัฒนาอำเภอฯให้เข้มแข็ง แบบยั่งยืน ด้านวิชาการ สคร. ประสาน ดำเนินงานกับเครือข่ายหลักในพื้นที่ สนับสนุน ติดตาม ประเมิน อำเภอฯ สะท้อนผลงาน เสนอกรมพัฒนาให้ได้ผลตามเป้าหมาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” คืออะไร ทำอย่างไร ติดตาม สะท้อนผลงาน ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สร้างการมีส่วนร่วม สื่อสารดำเนินงาน กับเครือข่ายหลัก ในพื้นที่ให้ต่อเนื่อง

9

10 ผลการอบรม SRRT ตำบล ปี 2554 4,666 แห่ง 5,084 แห่ง
จำนวน รพ.สต. ทั่วประเทศ = 9,750 แห่ง เป้าหมาย (ปี 54) จำนวน 2,000 แห่ง ผลการอบรม จำนวน 4,666 แห่ง แหล่งข้อมูล : สำนักระบาดวิทยา ณ พ.ค. 54

11

12 จำนวนอำเภอทั้งหมด 880 อำเภอ
ผลการประเมินตนเอง (Self Assessment) ของอำเภอรวม 18 เขตตรวจราชการ ตามคุณลักษณะที่กรมควบคุมโรคกำหนด ณ วันที่ 10 มิ.ย. 2554 จำนวนอำเภอทั้งหมด 880 อำเภอ

13 ผลการประเมินตนเอง (Self Assessment) ของอำเภอใน 18 เขตตรวจราชการ ตามคุณลักษณะที่กรมควบคุมโรคกำหนด ณ วันที่ 10 มิ.ย. 2554

14 โรค/ภัยสุขภาพที่สำเร็จ ตามคุณลักษณะที่ 5
ปัญหาของพื้นที่ จำนวน นโยบาย รวม Dengue 154 134 288 TB 49 107 156 Diarrhea + food poisoning 45 Food water borne 6 51 Influenza 38 23 61 Leptospirosis 20 4 24 Malaria 18 1 19 NCD 40 60 AIDS 13 33 Rabies 7 3 10 Vaccine preventable VPD Alcohol 5 Leprosy 2 Chikungunya Accident Environ-Occupation Filariasis Cholera Helminthes Other: Drowning, Hepatitis A, Iodine, Strepsuis, Suicide เรื่องละ 1

15 ข้อค้นพบ / ข้อเสนอแนะ จาก
ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข (นพ.สุริยะ วงศ์คงคาเทพ) การตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวงปี 2554 รอบที่ 1 การนิเทศงานสำนักงานป้องกันควบคุมโรค กรมควบคุมโรค ปี 2554 การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

16 ข้อค้นพบ/ข้อเสนอแนะ โครงการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน เป็นเครื่องมือหนึ่งตามยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของพื้นที่ ระยะแรกอาจทำให้เป็นกระบวนการที่จับต้องได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติภารกิจที่กำหนด (Standard performance) ระยะต่อไป ต้องต่อยอดเรื่องคุณภาพ (Above standard) เชื่อมโยงเครือข่ายให้เข้มแข็ง เช่น กรรมการ : นายอำเภอเป็นประธาน รพช. สสอ. เป็นเลขาแบบเกาะติดพัฒนาต่อเนื่องตามบริบทของพื้นที่ Lab : กรมวิทย์ กองทุน : สปสช. แผน : สป. ผู้ตรวจ/ สนย. ผลสำร็จ : เป็นภาพรวมของทุกกรมตามปัญหาของพื้นที่ กรมควบคุมโรค ต้องผลักดันให้อำเภอเป็นฐานปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคที่เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ ในการรับมือกับสถานการณ์ได้ทันท่วงที โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อนโยบายการกระจายอำนาจส่งผลให้ท้องถิ่นมีบทบาทมากขึ้น แต่มิใช่ผลักภาระทั้งหมดให้ท้องถิ่น อำเภอจึงต้องหาจุดสมดุลของการทำงานร่วมกันกับท้องถิ่นให้ได้

17 ข้อค้นพบ/ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
ควรวางกรอบการพัฒนาเชิงคุณภาพในอนาคตโดยให้น้ำหนักกับบทบาทของ อปท. และการสนับสนุนด้านวิชาการจากอำเภอ ควรประสานการดำเนินงานร่วมกับกระทรวงมหาดไทย เพื่อให้มีนโยบาย การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ในพื้นที่ หน่วยงานของกรมต้องให้ความสำคัญ ประเด็น การวิเคราะห์ปัญหาที่นำไปสู่การวางแผน : สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง และมาตรการที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลทางระบาดวิทยา ระบบกำกับติดตาม ประเมินผลจากจังหวัด รวมทั้งการสนับสนุนอำเภอ การประเมินและจัดการความเสี่ยง ให้มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การสรุปผลงานของอำเภอในคุณลักษณะข้อ 5 ควรเสนอเป็นเอกสารวิชาการให้ผู้ประเมินได้ตรวจสอบ ซึ่งหากผ่านการคัดเลือกเป็นอำเภอต้นแบบ จะมีคุณค่าทางวิชาการ

18 ข้อค้นพบ/ข้อเสนอแนะ (ต่อ)
6. ควรมีการถอดบทเรียนเพื่อเป็นตัวอย่างแก่อำเภออื่นๆ แลกเปลี่ยนระหว่างอำเภอ เป็นตลาดความรู้ทางวิชาการ เน้นขายความรู้ด้านการบริหารจัดการ นอกเหนือจากความรู้วิชาการ 7. ควรมีการวิเคราะห์บทบาท สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) และ ศูนย์อนามัย เพื่อให้รับรู้การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ นอกจากต้องมีความรู้เชิงวิชาการแล้ว ต้องมีทักษะในการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น 8. ในระยะแรกอาจมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในหลักการ และเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอำเภอฯ ในระยะต่อไปควรเน้นทำความเข้าใจ การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์มากขึ้น

19 ขอบพระคุณ 19


ดาวน์โหลด ppt “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google