งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
จิรวัฒน์ ศานติสุข กลุ่มแผนงานและประเมินผล สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา

2 วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
เพื่อยืนยันรับรองผล (Accredit) อำเภอที่ผ่านเกณฑ์

3 ผู้รับการประเมิน ระดับจังหวัด งานแผนงาน งานระบาด งานควบคุมโรค
ระดับอำเภอ กรรมการควบคุมโรคอำเภอ ผู้ดูแลระบบการเฝ้าระวังฯ ผู้ดูแลจัดทำแผนงานโครงการ ระดับตำบล รพ.สต. อปท. ระดับชุมชน อสม

4 ผู้ประเมิน มี ๒ ระดับ การประเมินยืนยัน การประเมินรับรองผล(Accredit)
ทีมงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด การประเมินรับรองผล(Accredit) ทีมประเมินสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา

5 บทบาทของผู้ประเมิน ระดับจังหวัด
ทีมงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวมข้อมูลการประเมินตนเองของอำเภอ วิเคราะห์ภาพรวมของคุณลักษณะ ๕ ด้าน พัฒนาอำเภอที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ แจ้งผลการประเมินอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ให้สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา

6 บทบาทของผู้ประสานจังหวัด/ผู้ประเมินระดับเขต
ทีมงานสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา รวบรวมข้อมูลการประเมินตนเองของอำเภอ ร่วมกับทีมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัฒนาอำเภอ ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ ประเมินอำเภอที่ผ่านเกณฑ์เพื่อรับรองผล (Accredit)

7 ทีมประเมินของ สคร.๑๒ ประกอบด้วย ๓ ทีม
ทีมที่ ๑ ประเมินคุณลักษณะ ด้านที่ ๑,๓และ๔ มิ.ย.-ก.ค.๕๕ ทีมที่ ๒ ประเมินคุณลักษณะ ด้านที่ ๒ มิ.ย.-ก.ค.๕๕ ทีมที่ ๓ ประเมินคุณลักษณะด้านที่ ๕ ตาม Template ตัวชี้วัดรายโรคที่อำเภอเลือก

8 เป้าหมายการผ่านเกณฑ์
มีคะแนนการประเมินตนเองตามคุณลักษณะ ๕ ด้านอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมิน อย่างน้อยร้อยละ ๖๐ จังหวัด จำนวนอำเภอ เป้าหมายการผ่านเกณฑ์ พัทลุง ๑๑ ตรัง ๑๐ สงขลา ๑๖ สตูล ปัตตานี ๑๒ ยะลา นราธิวาส ๑๓ รวมทั้งสิ้น ๗๗ ๔๙

9 เป้าหมายการรับรองผล (Accredit)
ร้อยละ 25 ของอำเภอในเขตรับผิดชอบ จังหวัด จำนวนอำเภอ เป้าหมายการรับรองผล (อำเภอ) พัทลุง ๑๑ ตรัง ๑๐ สงขลา ๑๖ สตูล ปัตตานี ๑๒ ยะลา นราธิวาส ๑๓ รวมทั้งสิ้น ๗๗ ๒๑

10 ประเมินตนเอง (self assessment) Key in ผ่านเวบไซด์ www.kmddc.go.th
ผังการประเมินรับรอง กรมควบคุมโรค ๑ ส.ค. ๕๕ สคร. ประเมินรับรอง มิ.ย.-ก.ค. ๕๕ แจ้งผลประเมิน ๑๕ พ.ค. ๕๕ พัฒนา จังหวัด ประเมินยืนยัน ไม่ผ่านเกณฑ์ (คะแนน < 80%) ผ่านเกณฑ์ (คะแนน ≥ 80%) อำเภอ ประเมินตนเอง (self assessment) Key in ผ่านเวบไซด์ มี.ค. ๕๕

11 เครื่องมือการประเมิน
แบบประเมินตนเองอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี ๒๕๕๕

12 การประเมินระดับจังหวัด
ตัวชี้วัด๗๒ ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการให้เกิดการพัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ตามองค์ประกอบ ๕ ด้าน ดังนี้ นำข้อมูลทางระบาดวิทยาของโรคและภัยสุขภาพมาประเมินสถานการณ์ รวมถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่น มากำหนดเป้าหมาย วางแผนและปฏิบัติการร่วมกันในการพัฒนาให้เกิด “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ระหว่างหน่วยงานภายในจังหวัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก/องค์กรอื่น จังหวัดมีกลไกการสนับสนุนให้อำเภอผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

13 การประเมินระดับจังหวัด (ต่อ)
๓. จังหวัดมีระบบการติดตามความก้าวหน้า และผลสำเร็จ พร้อมสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาให้เกิด"อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน" ๔. จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังโรค สอบสวน และการปัองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่มีประสิทธิภาพ ๕. อำเภอผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนตามเป้าหมาย

14 วิธีดำเนินการ จังหวัดทำ Self Assessment ตามองค์ประกอบของจังหวัดที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการให้เกิดการพัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เข้าเว็บไซด์ เป้าหมายการผ่านเกณฑ์ ต้องได้คะแนนรวม ไม่ต่ำกว่า 4.60 คะแนน

15 สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google