งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สุวลีรัตน์ เพชรล้อม กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย

2 ค่ากลาง คือ อะไร

3 ค่ากลาง NORM ชื่อเต็ม :
ค่ากลางที่คาดหวังของแผนงาน/โครงการด้านสาธารณสุข ความหมาย : งานใดๆ ที่ถือปฏิบัติกันอยู่เป็นปกติทั่วไปในพื้นที่ต่างๆ เป็นงานที่พื้นที่ส่วนใหญ่(ระดับกลาง) ได้ทำแล้ว ทำให้บรรลุผลเชิงคุณภาพ (ชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ)

4

5 จากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ พบว่า “แผนงาน/โครงการที่ดีประกอบด้วย 5 มิติและในแต่ละมิติประกอบด้วย 7 กิจกรรม” กิจกรรม มิติ งาน 1 งาน 2 งาน 3-5 หาค่ากลางของงานใน 7 กิจกรรม เพื่อยกระดับแผนงาน/โครงการ (บรรจุลงในตาราง 11 ช่อง) สร้างนวัตกรรม

6 ความถี่สูงสุดของงานที่พบจากการสำรวจ
การกำหนดค่ากลางของแผนงาน/ โครงการ ความถี่สูงสุดของงานที่พบจากการสำรวจ 100% กำหนดให้งานที่มีความถี่ไม่น้อยกว่า 65 % ของความถี่สูงสุดเป็นค่ากลางของโครงการ ได้แก่งานที่ 65 งาน การสำรวจใช้แบบสอบถาม แบบเปิด วิเคราะห์ แยกชนิดงานที่มีการปฏิบัติจริงในพื้นที่สำรวจ เรียงลำดับความถี่ของงานที่มีการปฏิบัติจากน้อยไปหามาก

7 ข้อควรทราบในการวิเคราะห์ข้อมูลค่ากลาง
งานที่อยู่เหนือเส้น 65% (เส้นค่ากลาง) ต้องมีไม่น้อยกว่า 3 งาน (ประมาณ3-5) งานเหล่านี้มีโอกาสถูกกำหนดให้เป็นค่ากลาง งานที่กำหนดให้เป็นค่ากลางต้องมีอย่างน้อย 1 งานที่เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) แต่ถ้ามีมากก็ยิ่งดี งานที่ไม่ให้ KPI ที่มีอยู่แล้ว ควรละเว้นไม่กำหนดให้เป็นค่ากลางในอนาคต

8 ข้อควรทราบในการวิเคราะห์ข้อมูลค่ากลาง
พิจารณางานที่ต่ำกว่าเส้นค่ากลางเพื่อยกระดับให้อยู่เหนือเส้น โดยเฉพาะงานที่ให้ KPI และงานที่สอดคล้องกับขั้นตอนการเปลี่ยนพฤติกรรม บันทึกข้อมูลการตัดสินใจไว้เพื่อตรวจสอบภายหลังเมื่อมีการประเมินผล

9 ข้อตกลงร่วมผลงานการสร้างและค้นหาค่ากลาง โดยความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย
ในอำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ ๒๕ – ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕

10 ค่ากลางที่ ๑ การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์/การจัดทำค่ากลาง
ทุกตำบลจะต้องดำเนินงาน ๕ งาน ดังนี้ อสม. คปสอ. คณะกรรมการกองทุน รับการอบรมเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ จัดเวทีเพื่อทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และประกาศใช้ร่วมกันในภาคี

11 ค่ากลางที่ ๑ การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์/การจัดทำค่ากลาง
๓. วางแผนในการดำเนินงานร่วมกับ อสม./อบต./เทศบาล ๔. จัดเวทีประชาคมเพื่อทราบปัญหาในพื้นที่ ๕. จัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมกับผู้ดำเนินงาน

12 ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย
ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ทุกตำบลจะต้องดำเนินงาน ๔ งาน ดังนี้ อบรมให้ความรู้ อสม.แกนนำอย่างต่อเนื่อง/ แบ่งเขตรับผิดชอบ/พัฒนาศักยภาพทักษะ การคัดกรองแกนนำสุขภาพ/ในกลุ่มเสี่ยง ให้อสม.ให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 12

13 ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย
ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ๒. เจ้าหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่กลุ่มเป้าหมายที่ เสี่ยง/ป่วย (ความหมายนี้เจ้าหน้าที่ต้อง สามารถเป็นผู้ให้คำปรึกษาถึงระดับ counseling ได้)

14 ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย
ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ๓. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภคแนะนำปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ( การรับประทานอาหาร/ ออกกำลังกาย/อารมณ์/สุรา/สารเสพติด) เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพโดยทีม care giver จัดกิจกรรมเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่ม เสี่ยง (BMI เกิน) โดยหลักสูตร * DPAC *ศูนย์ให้คำปรึกษา (HCC : Health Care Center) 14

15 ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย
ค่ากลางที่ ๒ การเฝ้าระวัง /คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ๔. ตรวจคัดกรองความเสี่ยงแยกกลุ่มสี่ยง/ จัดทำทะเบียนคัดกรอง /คัดกรองในชุมชน โดย อสม. และเจ้าหน้าที่ 15

16 ค่ากลางที่ ๓ มาตรการทางสังคม
ทุกตำบลจะต้องดำเนินการ ๖ งาน ดังนี้ ๑. ประชาชนมีกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อย สัปดาห์ละ ๓ ครั้งๆ ละ ๓๐ นาที ๒. ชมรมแต่ละชมรม/สมาชิกชมรม/ประชาชน มีกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง ๓. หมู่บ้านต้นแบบ เช่น มีกิจกรรมการทำอาหาร ลดกะทิ ของหวาน มัน เค็มโดยกลุ่มแม่บ้าน เมนูชูสุขภาพ

17 ค่ากลางที่ ๓ มาตรการทางสังคม
๔. บุคคลต้นแบบ เช่น จนท. อสม. แกนนำสุขภาพ ผู้นำชุมชน ๕. งดการเลี้ยงสุรา เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น งานบุญ งานบวช งานศพ ๖. มีการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพที่เหมาะสม กับวัย

18 ค่ากลางที่ ๔ การจัดทำแผนงาน โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล
ทุกตำบลจะต้องดำเนินการ ๔ งาน ดังนี้ ๑. การสร้างภาคีเครือค่าย อปท. อสม. โรงเรียน ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข วัด (มีเวทีทบทวนและปรับแผนร่วมกันของ ภาคีเครือข่ายโดยใช้ SRM /แผนสุขภาพ ตำบล)

19 ค่ากลางที่ ๔ การจัดทำแผนงาน โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล
๒. บรรจุแผนงานเรื่องเบาหวาน,ความดันโลหิตสูง ลงในแผนของ อปท.(แผน 3 ปี, แผน 5 ปี) ๓. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อของบจากกองทุน สปสช. ๔. ประเมินผลงานและติดตามผลการดำเนินงาน ตามโครงการ

20 ค่ากลางที่ ๕ การจัดการกลุ่มเป้าหมาย/และสภาพแวดล้อม
ทุกตำบลจะต้องดำเนินงาน ๕ งาน ดังนี้ ๑. ติดตาม /เฝ้าระวัง /ฟื้นฟู กลุ่มเป้าหมาย ๒. การจัดสถานที่/ลานออกกำลังกาย สาธารณะในแต่ละตำบลอย่างน้อย ๑ แห่ง/ตำบล

21 ค่ากลางที่ ๕ การจัดการกลุ่มเป้าหมาย/และสภาพแวดล้อม
๓. จัดอบรม อสม แกนนำสุขภาพ ๔. ส่งเสริมการปลูกผักในครัวเรือนปลอดสารพิษ และรับประทานเอง ๕. ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพ

22 ค่ากลางที่ ๖ การสื่อสารและสารสนเทศ
ค่ากลางที่ ๖ การสื่อสารและสารสนเทศ ทุกตำบลจะต้องดำเนินงาน ๕ งาน ดังนี้ สื่อบุคคล @ ทีมเยี่ยมบ้านสหวิชาชีพ @ ปากต่อปาก ๒. เพื่อนช่วยเพื่อน / แลกเปลี่ยนเรียนรู้

23 ค่ากลางที่ ๖ การสื่อสารและสารสนเทศ
ค่ากลางที่ ๖ การสื่อสารและสารสนเทศ ๓. สื่อสาธารณะ เช่น หอกระจายข่าว วิทยุชุมชน สปอร์ตโฆษณา ๔. สื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เช่น บอร์ด ป้าย แผ่นพับ วงล้อสุขภาพ ฯลฯ

24 สัญญาไว้........ เราจะร่วมมือกัน
สัญญาไว้ เราจะร่วมมือกัน ให้ประชาชนทุกคน มีสุขภาพดี ลด ละ เลิกพฤติกรรมเสี่ยง ปลอดภัยจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป

25 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
หัวใจของความสำเร็จ ในการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยการใช้ค่ากลาง อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

26 บทบาทของ 5 องค์กรระดับท้องถิ่น / ตำบล ในการพัฒนาสุขภาพของประชาชน
บทบาทของ 5 องค์กรระดับท้องถิ่น / ตำบล ในการพัฒนาสุขภาพของประชาชน อปท รพสต อสม ผู้นำชุมชน กองทุนฯตำบล

27 สวัสดี

28 กระบวนการปรับทิศทางของโครงการสุขภาพด้วยตนเอง


ดาวน์โหลด ppt การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google