งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Intelligent bus system with rfid

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Intelligent bus system with rfid"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Intelligent bus system with rfid
ระบบพัฒนาศักยภาพและขยายข้อมูลการบริการโดย รถโดยสารประจำทางด้วยเทคโนโลยี RFID (NRIC ) Intelligent bus system with rfid

2 หัวข้อการนำเสนอ บทนำ ทฤษฎี และหลักการที่ใช้พัฒนาระบบ
วิเคราะห์ระบบปัจจุบัน การออกแบบระบบใหม่ การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ การวิเคราะห์ต้นทุน ความคืบหน้าของโครงการ บทสรุป และแนวทางการพัฒนาต่อในอนาคต

3 บทนำ - วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อที่จะสามารถพยากรณ์เวลาล่วงหน้าในการเข้ามาถึงป้ายประจำทางของรถโดยสารประจำทาง เพื่อให้สามารถพยากรณ์เวลาที่ใช้ในการโดยสารรถโดยสารประจำทางที่ได้ล่วงหน้าจากป้ายต้นทางไปยังอีกป้ายหนึ่งซึ่งเป็นปลายทาง ณ ช่วงเวลาที่กำหนดได้ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากการให้บริการรถโดยสารประจำทางจริงไว้ใช้ในการปรับปรุงการให้บริการ เช่น การกำหนดตารางการเดินรถที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน

4 บทนำ - วัตถุประสงค์ของโครงการ (ต่อ)
เพื่อให้การบริการรถโดยสารประจำทางมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยทั้งผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยในการเดินทางโดยรถโดยสารประจำทางทั้งต่อผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ

5 ทฤษฎี และหลักการที่ใช้พัฒนาระบบ
เก็บข้อมูลจากการอ่านแท็กที่รถโดยสารประจำทางลงฐานข้อมูล แล้วนำข้อมูลจากฐานข้อมูลมาพยากรณ์การเข้ามาถึงป้าย นำข้อมูลเวลาที่ใช้ในการเดินทางของรถโดยสารประจำทางหมายเลขเดียวกันที่ออกจากป้ายก่อนหน้าป้ายที่ต้องการพยากรณ์จนถึงป้ายที่ต้องการพยากรณ์ล่าสุดจำนวน n ข้อมูล ด้วยวิธีพยากรณ์แบบ Weighted Average Moving Method

6 ทฤษฎี และหลักการที่ใช้พัฒนาระบบ (ต่อ)
Ft = r1Yt-1 + r2Yt-2 + … + rnYt-n โดยมีข้อกำหนดในการคิดค่าเฉลี่ยไว้ดังนี้ rtotal = r1 + r2 + … + rn = 1.0 กรณีที่เป็นรถโดยสารประจำคันแรกของหมายเลขรถโดยสารประจำทาง ระบบจะนำเวลาในการเดินทางเฉลี่ยของแต่ล่ะป้ายของรถโดยสารประจำทางหมายเลขนั้นมาใช้ในการพยากรณ์

7 วิเคราะห์ระบบปัจจุบัน - ปัญหาระบบงานเดิม
ไม่สามารถนำกฎระเบียบที่วางไว้ไปปฏิบัติได้ อันเนื่องจากผู้ปฏิบัติงานละเลยหรือปัจจัยอื่นๆ เช่น มีมาตราว่าห้ามเข้าจอดนอกป้ายจอด แต่ก็จอดรับส่งผู้โดยสารกลางถนน หรือพนักงานขับรถขับรถเร็วเกินไป ทำให้ไม่ได้เข้ารับส่งผู้โดยสารที่ป้ายหรือทำให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน ข้อมูลที่ได้จากเดินทางของรถโดยสารประจำทาง ซึ่งมีประโยชน์ต่อการดูรายละเอียดเส้นทางหรือความหนาแน่นการจราจรไม่สามารถดูได้ทันที

8 วิเคราะห์ระบบปัจจุบัน - ปัญหาระบบงานเดิม (ต่อ)
ผู้โดยสารไม่สามารถทราบการจราจรในเส้นทางที่กำลังนั่งรถโดยสารประจำทางผ่านได้ รวมทั้งไม่สามารถสอบถามข้อมูลได้อย่างเรียวไทม์ ผู้โดยสารไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้าว่ารถโดยสารประจำทางที่ต้องการจะโดยสารนั้นจะมาถึงอีกเมื่อใด

9 การออกแบบระบบใหม่ - Functional Spec.

10 การออกแบบระบบใหม่ - Functional Spec. (ต่อ)
RFID Tag RFID Reader (Client)

11 การออกแบบระบบใหม่ - Functional Spec. (ต่อ)
Via Web Service Internet

12 การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน
โครงร่างการออกแบบ ของระบบ

13 การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน (ต่อ)
การออกแบบส่วนติดต่อระบบ - เครื่องอ่านแท็ก

14 การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน (ต่อ)
การออกแบบส่วนติดต่อระบบ - เว็บไซต์

15 การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน (ต่อ)
การออกแบบส่วนติดต่อระบบ - เว็บไซต์สำหรับมือถือ

16 การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้งาน (ต่อ)
การออกแบบส่วนติดต่อระบบ - ป้ายจอด

17 การวิเคราะห์ต้นทุน - หมายเหตุ
ค่าใช้จ่ายรวมตั้งแต่การพัฒนาถึงระดับปฏิบัติการ คิดภายใต้สมมติฐานที่ว่า โครงการดังกล่าวเป็นโครงการนำร่อง ใช้กับรถโดยสารประจำทางจำนวน 50 คัน ติดตั้งแท็กเข้ากับป้ายจำนวน 200 อัน อุปกรณ์อ่านแท็กที่ใช้ในการพัฒนา หากนำไปใช้จริงจะต้องติดตั้งเข้ากับตัวรถโดยสารประจำทาง ดังนั้นเครื่องแบบติดตั้งตามตัวรุ่น IF4 จะทำงานมีประสิทธิภาพกว่ารุ่น IP4

18 การวิเคราะห์ต้นทุน - หมายเหตุ (ต่อ)
นอกจากนั้น อุปกรณ์อ่านแท็กจะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายได้ (ในที่นี้ใช้ พ๊อกเก็ตพีซี) แท็กที่ใช้ในการพัฒนาระบบ หากนำไปใช้จริงจะต้องติดตั้งเข้ากับป้ายจราจร ซึ่งจะต้องใช้ของที่คุณภาพสูงกว่า

19 การวิเคราะห์ต้นทุน - วิเคราะห์ความคุ้มค่าการลงทุน
คิด 5 ปี เงินลงทุน = 7,668, บาท ค่าดำเนินการ = 102,150, บาท ผลประโยชน์ = 745,200, บาท NPV = 16,075, บาท IRR = 1,677% หมายเหตุ: ผลประโยชน์ หมายถึง ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการติดตั้งอุปกรณ์และระบบที่ได้พัฒนาขึ้น โดยมีองค์ประกอบ คือ รายได้จากการจัดเก็บโดยเฉลี่ย และ มูลค่าของการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินในอุบัติเหตุ

20 ความคืบหน้าของโครงการ
พัฒนาแอพพลิเคชั่นติดตั้งในพ๊อกเก็ตพีซี พัฒนาแอพพลิเคชั่นและระบบฐานข้อมูลเพื่อรับข้อมูลจากเครื่องอ่านแท็กที่ส่งเข้ามาผ่านเว็บเซอร์วิส พัฒนาเว็บไซต์และเว็บไซต์สำหรับอุปกรณ์พกพา

21 บทสรุป - ปัญหาและอุปสรรค
อุปกรณ์ที่ได้รับมาไม่ตรงกับความต้องการใช้งานจริง โดยขาดในส่วนการเชื่อมต่อแบบไร้สาย (WLAN) และบลูทูธ (Bluetooth) ทำให้เป็นอุปสรรคในการพัฒนาและนำเสนอการทำงานของระบบ มีเนื้อหาใหม่ที่ต้องเรียนรู้หลายส่วน ทำให้ต้องใช้เวลาในการศึกษาค่อนข้างนาน

22 บทสรุป - แนวทางการพัฒนาต่อในอนาคต
อิมพลีเมนต์ระบบในแต่ละส่วนที่ได้ออกแบบไว้ (การวิเคราะห์ข้อมูลที่เครื่องแม่ข่าย) ทดสอบการทำงานของระบบในแต่ละส่วนและทั้งระบบ

23 ขอขอบคุณทุกท่านที่เข้าฟังการนำเสนอครับ


ดาวน์โหลด ppt Intelligent bus system with rfid

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google