งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ของศูนย์อนามัยที่ 4 ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก ( ราชบุรี นครปฐม กาญจนบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ประจวบคีรีขันธ์ )

3 วิวัฒนาการ 6 Key Function แบ่งเป็น 3 ระยะ ( ปี 2551 -2553)
ปี : ประชาสัมพันธ์ทั้งภายนอกและภายใน ปี : พยายามจัดแผนงาน / โครงการ/ กิจกรรม ให้เข้ากับ 6 Keys 3. ปี 2553 : แผนยุทธศาสตร์ครอบคลุม 6 Keys

4 การเฝ้าระวัง (Surveilance)
ระบบรายงานแม่และเด็กไทย รายงานของเจ้าภาพประเด็นยุทธ์( 6 ประเด็น) ฐานข้อมูล Teenage Pregnancy ฐานข้อมูล เพื่อประเมินภาวะอ้วนลงพุงในองค์กร Breast mass and Breast Exam pregnancy สุ่มสำรวจสถานการณ์ ( พัฒนาการเด็ก แม่วัยรุ่น ภาวะอ้วนลงพุง ชมรมผู้สูงอายุ อาหารและน้ำ เฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ

5 การวิจัยพัฒนา(Research and Development)
พัฒนารูปแบบบริการ รร. พ่อแม่ ตามมาตรฐาน รพ.สายใยรัก (R to R) ศึกษากระบวนการลดปัจจัยเสี่ยงด้านเพศ สารเสพติด และความรุนแรง ในนักเรียนมัธยมปลาย (R to R) ศึกษาการเข้าถึงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก พัฒนาหลักสูตรอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับเยาวชน และนักเรียน พัฒนารูปแบบการดำเนินงานสภาผู้สูงอายุและ คลังปัญญา จ.เพชรบุรี พัฒนากลยุทธ์กิน ผลไม้ ใน รร.ต้นแบบ พัฒนาระบบบริหารงานคุณภาพ รพ.

6 การติดตามประเมินผล (Monitoring and Evaluation)
การรับรองมาตรฐาน การประเมินการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การประเมินโครงการแม่วัยรุ่น (Teenage Pregnancy) การนิเทศงานกระทรวงฯ การประเมินกระบวนการการบริหารงาน ส่งเสริมสุขภาพฯ (PP)

7 การสนับสนุนภาคีเครือข่าย
(Provider Support) ประชุม/ อบรม / สัมมนา / ศึกษาดูงานทั้งใน และ ต่างประเทศ วิทยากร / ให้คำปรึกษา งบประมาณ /วัสดุ / อุปกรณ์ / เทคโนโลยี อื่นๆตามที่ร้องขอ

8 การคุ้มครองผู้บริโภค(Consumer Protection)
ควบคุม ป้องกันโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัว HIV ส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ ส่งเสริมทันตสุขภาพ /เครือข่ายเด็กไทยฟันดี อาหารปลอดภัย

9 การประสานความร่วมมือกับแหล่งทุน
( Funder Alliance) ท้องถิ่น ( อบจ./ อบต.) สปสช,เขต ( 3โครงการ ) กองทุนโลก WHO

10 ผลการดำเนินงานตาม ตัวชี้วัด ปี 2552
(excel)

11 จุดอ่อน ระบบเฝ้าระวังยังไม่ครอบคลุม ไม่เป็นระบบ
ฐานข้อมูลยังไม่ทันสมัย ไม่ครบถ้วน เป้าหมายไม่ชัดเจน ทำให้ไม่ทราบปัญญาที่แท้จริง มาตรการในการแก้ไขปัญหาแบบเดิมๆ เช่นประขุม อบรม สัมมนา เป็นหลัก ระบบการนิเทศงาน การติดตามประเมินผลยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรเน้นการตรวจสอบ และการติดตามรายงานผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดมากเกินไป ข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาที่สำคัญตามบริบทของพื้นที่ ยังไม่ได้รับการศึกษาวิจัยและนำไปใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง

12 แนวทางการแก้ปัญหาในปี 2553
จัดทำโครงการ : จัดทำแผนบูรณาการ และถ่ายทอดโยบาย เพื่อพัฒนาระบบ ติดตามประเมินผล งานส่งเสริมสุขภาพ

13 กลยุทธ์ เน้นความสามารถในการแก้ปัญหาสุขภาพในเขต
จัดทำแผนบูรณาการเชิงรุกระดับเขต ถ่ายทอด ลงสู่จังหวัด 3. แผนต้องมีคุณภาพ เพื่อแก้ปัญหาพื้นที่ 3 ด้าน การวิเคราะห์สภาพปัญหา ใช้ข้อมูลจากของจริง การกำหนดกลุ่มหมายที่ชัดเจน กลยุทธ์การแก้ปัญหา มาตรการ/กิจกรรมเหมาะสม ปฏิบัติได้และแก้ปัญหาได้จริง

14 ผลลัพธ์ แผนบูรณาการของศูนย์วิชาการ 6 แผน ได้แก่
แผนบูรณาการของศูนย์วิชาการ 6 แผน ได้แก่ ภาวะอ้วนลงพุง : สุขภาพดีวิถีไทย เด็กวัยเรียนและเยาวชน ผู้สูงอายุ อาหารปลอดภัย รพ. ส่งเสริมฯ 2. SRM SLM ตาราง 11 ช่อง Deployบทบาททุกระดับ


ดาวน์โหลด ppt บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google