งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย โดย ดร. นลินี ศรีพวง สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

2 ก่อให้เกิดเหตุรำคาญ (Nuisance) เป็นพิษต่อร่างกาย (Toxicity)
ผลกระทบของสารเคมี ก่อให้เกิดเหตุรำคาญ (Nuisance) เป็นพิษต่อร่างกาย (Toxicity) ก่อให้เกิดอุบัติภัย (Incident)

3 การเฝ้าระวังในพื้นที่
การประเมินความเสี่ยง การประเมินผลกระทบ การเตรียมความพร้อมเพื่อปฏิบัติการเหตุฉุกเฉิน

4 การประเมินความเสี่ยง(Risk Assessment)
Hazard Identification Dose -response Identification Exposure Identification Risk Characterization

5 อันตรายจากสารเคมี การติดไฟและการระเบิด (Flammable & Explosive)
การกัดกร่อน (Corrosive) การทำปฏิกิริยา (Reactivity) ความเป็นพิษ (Toxicity) สารกัมมันตรังสี (Radioactivity)

6 การดำเนินการในที่เกิดเหตุเพื่อการควบคุมแลสอบสวน
กำหนดระยะความปลอดภัย - Hot Zone - Warm Zone - Cold Zone กำหนดระยะลดการปนเปื้อนของสารเคมี การกำจัดสารเคมี การกำหนดระดับความปลอดภัย การช่วยเหลือ/สนับสนุน การหาข้อมูลข่าวสาร การตรวจทางสิ่งแวดล้อมและชีวภาพ การสื่อสารและการประสานงาน

7 การสอบสวนที่เกิดเหตุ
ลักษณะของการเกิดเหตุ กลิ่น การเกิดการเจ็บป่วย

8 การเฝ้าระวัง การเฝ้าระวังทางการแพทย์ (Medical Surveillance)
การเฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Surveillance)

9 การเฝ้าระวังทางการแพทย์
การกำหนดมาตรการความปลอดภัยต่อสุขภาพ การตรวจสุขภาพทั่วไป การตรวจสุขภาพพิเศษ การตรวจระดับความเข้มข้นของสารเคมีในร่างกาย

10 การเฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อม
การกำหนดมาตรการความปลอดภัย ในสิ่งแวดล้อมชุมชน การตรวจระดับความเข้มข้นของสารเคมี ในสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของสารเคมีในสิ่งแวดล้อมชุมชน

11 การเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัย
จากความผิดพลาดของมนุษย์ (Human Error) จากสภาพแวดล้อม/สิ่งแวดล้อม (Environmental Condition) อุปกรณ์/เครื่องมือ (Equipment)

12 สารเคมีอันตรายที่ทำให้เกิดอุบัติภัยได้ง่าย
สารทำละลายตัวทำละลายอินทรีย์/ สารตัวทำละลายอินทรีย์ ก๊าซ กรด-ด่าง สารกัมมันตรังสี

13 หลักการทางพิษวิทยากับภาวะความเป็นพิษ กับการประเมินสุขภาพและการสอบสวนโรคจากสารเคมี
ชนิดของสารเคมีที่ใช้และที่เข้าสู่ร่างกาย ทางที่เข้าสู่ร่างกาย (Routes of Entry) ระดับความเข้มข้นของสารที่ได้รับ(Concentration) ระยะเวลาที่ได้รับสาร (Exposure Time) สภาวะร่างกายของแต่ละบุคคล (Physical Condition) พฤติกรรมส่วนบุคคล (Human Behaviour) สถานที่อยู่ ประวัติการทำงาน อาชีพปัจจุบัน และการป้องกันตนเอง กระบวนการผลิต การบรรจุ การสะสมและการขนส่ง ระดับความเข้มข้นของสารเคมีในร่างกาย

14 การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์
ตัวอย่างทางชีวภาพ ตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม


ดาวน์โหลด ppt การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google