ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างยั่งยืน นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
2
อย่างไรเรียกว่าอ้วน อ้วน : ร่างกายมี
-ปริมาณไขมันสูงเมื่อเปรียบเทียบกับมวล กล้ามเนื้อ หรือ -มีค่าดัชนีมวลกาย ≥ 25 กก/ตร.ม หรือ -มีรอบเอว ≥ 90 ซม.ในชาย, ≥ 80 ซม. ในหญิง
3
ดัชนีมวลกาย น้ำหนักปกติ 18.5-22.9 กก/ตร.ม ท้วม 23.0-24.9 กก/ตร.ม
น้ำหนักปกติ กก/ตร.ม ท้วม กก/ตร.ม อ้วน กก/ตร.ม อ้วนมาก ≥ 30.0 กก/ตร.ม
5
ทำไมน้ำหนักและรอบเอวจึงเป็นเรื่องสำคัญ
น้ำหนักเพิ่มขึ้นหรืออ้วน ทำให้มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นต่อ โรคหัวใจ เบาหวาน ความดันเลือดสูง มะเร็งบางชนิด โรคถุงน้ำดี โรคตับ หยุดหายใจขณะหลับ ข้ออักเสบ
6
สถานการณ์ เสียชีวิตมากกว่าปีละ 6.5 หมื่นรายจากกลุ่มโรคหลอดเลือดสมอง หัวใจหลอดเลือด และเบาหวาน ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ความดันเลือดสูง มากกว่า 13 ล้านคน น้ำหนักเกินและอ้วนเกือบร้อยละ 30 อ้วนลงพุงหรือรอบเอวเกินถึงร้อยละ 24 และ 60 ในเพศชายและหญิง
7
สมดุลของพลังงาน พลังงานเข้า < พลังงานออก ผอมลง
พลังงานเข้า < พลังงานออก ผอมลง พลังงานเข้า > พลังงานออก อ้วนขึ้น พลังงานเข้า = พลังงานออก เท่าเดิม
8
เป้าหมายการจัดการน้ำหนักและรอบเอว
ป้องกันมิให้น้ำหนักเพิ่ม ลดน้ำหนักลง 5-10 % รักษาน้ำหนัก
9
ป้องกันมิให้น้ำหนักเพิ่ม
เพิ่มการเคลื่อนไหวออกกำลัง ใช้พลังงานออกไปอย่างน้อยวันละ 100 แคลอรี ลดการกินอาหารลงวันละ 100 แคลอรีและกินอย่างฉลาด
10
ลดน้ำหนักลง 5-10 % ออกแรง/ออกกำลังอย่างน้อยวันละ 30 นาที ถ้าไม่ลดให้เพิ่มระยะเวลา เป็น 45 นาที จนถึง 60 นาทีต่อวัน กินลดลงวันละ แคลอรี หรือประมาณ 1/3-1/2 ของอาหารที่กินต่อวันโดยกินอย่างฉลาด
11
รักษาน้ำหนัก ออกแรง/ออกกำลังวันละ 60-90 นาทีต่อวัน
กินเท่าที่ร่างกายต้องการใช้
12
Obesity and overweight assessment
(American Family Physician, 2001)
13
Reduction in Type 2 Diabetes With Lifestyle Intervention vs Metformin
3234 participants - W 55%, B 20%, H 16%, AI 5% Age ~50 BMI ~34 Waist ~105 cm FBG ~ HbA1c ~5.9 Placebo + standard lifestyle advice vs. Metformin 850 mg bid + lifestyle advice vs. Intensive lifestyle intervention low-calorie, low-fat diet (NCEP Step 1) wt loss goal 7% of base weight exercise 150 min per week Ref: Diabetes Prevention Program Research Group (NEJM 2002)
15
เครื่องมือสำหรับเจ้าหน้าที่หรืออาสาสมัครผู้นำ
แบบประเมิน พันธะสัญญาเพื่อปรับพฤติกรรม โปสเตอร์ดัชนีมวลกายและเป้าหมายลดน้ำหนัก โปสเตอร์ 4 แบบ เพื่อประชาสัมพันธ์ โปสเตอร์ 60 เคล็ดลับเพื่อลด 100 แคลอรี และโปสเตอร์ 77 เคล็ดลับเพื่อเพิ่ม 2,000 ก้าว คู่มือก้าวเดิน......เพื่อสุขภาพ และเดินนี้ไซร้....มิใช่ธรรมดา
16
เครื่องมือสำหรับผู้รับบริการ
แผ่นพับ ขอต้อนรับ..... และ คิดถึงการเปลี่ยนแปลง.... 60 เคล็ดลับเพื่อลด 100 แคลอรี 77 เคล็ดลับเพื่อเพิ่ม 2000 ก้าว 10 เคล็ดลับปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต...พิชิตพุง กินอย่างฉลาด 4 แบบ ปฏิทินบันทึกความก้าวหน้า.....สู่สุขภาพดี คำแนะนำการใช้เครื่องนับก้าว แผ่นพับ ก้าวเดิน.....เพื่อสุขภาพ
17
5 A’s ขั้นที่ 1 สอบถาม (Ask) ขั้นที่ 2 แนะนำ (Advise)
ขั้นที่ 3 ประเมิน (Assess) ขั้นที่ 4 ช่วยเหลือ (Assist) ขั้นที่ 5 การติดตาม (Arrange)
18
การประเมินผล จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวนผู้ที่หยุดหรือเลิกจากโครงการ
จำนวนผู้ที่ลดน้ำหนัก/ลดรอบเอวได้ จำนวนผู้ที่ออกกำลังด้วยการเดินสม่ำเสมอตามข้อแนะนำ จำนวนผู้ที่สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกิน ค่าเฉลี่ยน้ำหนักตัว/รอบเอว ของกลุ่ม ค่าเฉลี่ยเวลาที่ใช้เดิน/จำนวนก้าวของกลุ่ม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.