งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การศึกษาความพร้อมในการใช้การจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป จัดทำโดย นางสาววราพร วิริยะไชยกุล ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การศึกษาความพร้อมในการใช้การจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป จัดทำโดย นางสาววราพร วิริยะไชยกุล ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การศึกษาความพร้อมในการใช้การจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป จัดทำโดย นางสาววราพร วิริยะไชยกุล ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มมีการจ้างงานสูงสุด การแข่งขันค่อนข้างรุนแรง การทำตลาดของผู้ประกอบการสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มในแต่ละผลิตภัณฑ์ขาดการประสานงานซึ่งกันและกันทั้งภายในและภายนอกองค์กรในระดับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง

3 อุตสาหกรรมผลิตเส้นใย เส้นใยประดิษฐ์ เส้นใยธรรมชาติ อุตสาหกรรม ต้นน้ำ
อุตสาหกรรมปั่นด้าย อุตสาหกรรม กลางน้ำ อุตสาหกรรมทอผ้า อุตสาหกรรมถักผ้า อุตสาหกรรมฟอกย้อม พิมพ์ และตกแต่งสำเร็จ อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ อุตสาหกรรม ปลายน้ำ ผู้บริโภค

4 แนวทางในการแก้ปัญหา การนำแนวคิดกลยุทธ์การบริหารจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management : SCM) มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิผล

5 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อศึกษาความพร้อมในการประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการ โซ่อุปทานของผู้ผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป เพื่อศึกษาความเชื่อมโยงภายในสายโซ่อุปทานระหว่างผู้ผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป ผู้ขายปัจจัยการผลิตและผู้จัดจำหน่ายสินค้าในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป

6 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย
1. ตัวแปรอิสระ 1.1 ความพร้อมของปัจจัยพื้นฐานด้านต่าง ๆ ทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการ เทคโนโลยี

7 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ)
1.2 ความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป ภายในสายโซ่อุปทานเดียวกัน แบ่งออกเป็น 1.2.1 ความเชื่อมโยงไปข้างหน้า 1.2.2 ความเชื่อมโยงไปข้างหลัง 2. ตัวแปรตาม ความพร้อมของอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูปในการนำ กลยุทธ์การจัดการโซ่อุปทานมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ

8 สรุปผลการวิจัย ความพร้อมของอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูปต่อการจัดการโซ่อุปทาน 1. โดยรวมมีความพร้อมระดับปานกลาง 2. เรียงลำดับความพร้อมทั้ง 3 ด้าน พบว่า ด้านกระบวนการ มากที่สุด รองลงมาคือ ด้านเทคโนโลยี และด้านทรัพยากร มนุษย์ มีน้อยที่สุด

9 ความเชื่อมโยงภายในโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป
1. การเชื่อมโยงไปข้างหน้า ความสำคัญในการร่วมมือและประสานงานกับผู้ซื้อสินค้า/ผู้จัดจำหน่ายในเรื่องของความต้องการของลูกค้ามากที่สุด 2. การเชื่อมโยงไปข้างหลัง ความสำคัญในการร่วมมือและประสานงานกับผู้ขาย ปัจจัยการผลิตเกี่ยวกับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การศึกษาความพร้อมในการใช้การจัดการโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป จัดทำโดย นางสาววราพร วิริยะไชยกุล ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google