งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
อ.พงษ์ศักดิ์ ทองพันชั่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

2 หัวข้อสนทนา 1.ที่มาของอัตรากำลัง 2.ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
3.ประเภทและระดับตำแหน่ง 4.การประเมินค่างาน แบบ และเกณฑ์ 5.จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ

3 ทัพพระเจ้าตากสิน : แหกด่านจากกรุงศรีฯ ทัพพระนเรศวร : ตีเมืองคัง
อัตรากำลัง อัตรากำลัง ทัพพระเจ้าตากสิน : แหกด่านจากกรุงศรีฯ ทัพพระนเรศวร : ตีเมืองคัง

4 จำนวนบุคลากรในแต่ละหน่วยงาน วิชาการ : ปฏิบัติการ /1:1
ที่มาของบุคลากร กรอบอัตรากำลัง บุคลากร :แผน 4 ปี โครงสร้างองค์กร ตามกฎหมาย มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวน นักศึกษาภาคปกติ คณะ สำนัก คณะ สำนัก สถาบัน วิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย วิชาการ ปฏิบัติการ เกณฑ์ หลักสูตร สกอ. 1:5 สังคมศาสตร์ 25:1 จำนวนบุคลากรในแต่ละหน่วยงาน วิทยาศาสตร์ 15:1 วิชาการ : ปฏิบัติการ /1:1

5 การขอกำหนดตำแหน่ง ต้อง 5 ยึด ครับ.. 5.จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1.ยึดระเบียบกฎหมาย 2.ยึดคุณสมบัติ ของผู้ขอ 3.ยึดปริมาณงาน 4.ยึดผลงาน 5.จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ

6 ระเบียบกฏหมายที่เกี่ยวข้อง
: หลัก 1. ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง มาตรฐานการกำหนดระดับตำแหน่งและการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น พ.ศ.2553 (ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2553) 2. ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง มาตรฐานการกำหนดระดับตำแหน่งและ การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 (ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2554) 3. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ว่าด้วยการกำหนดระดับตำแหน่งและการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พนักงานในสถาบัน อุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น พ.ศ.2555 (ลงวันที่ 18 สิงหาคม 2555)

7 ระเบียบกฏหมายที่เกี่ยวข้อง
: ออกเพิ่มเติม 1. ประกาศ : คณะกรรมการบริหารงานบุคคล (กบม.) ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการ การกำหนดระดับ ตำแหน่งและการแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษา พนักงานในสถาบันอุดมศึกษา ให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น 2. ประกาศ : คณะกรรมการบริหารงานบุคคล (กบม.) ว่าด้วยการประเมินค่างาน 3. ประกาศ คณะกรรมการบริหารงานบุคคล (กบม.) เรืองอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

8 ความหมาย : กลุ่มบุคคล บุคคล
การบริหาร งานบุคคล ความหมาย : กลุ่มบุคคล บุคคล “ก.พ.อ.” หมายความว่า คณะกรรมการข้าราชการ พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา “ก.บ.ม.” หมายถึง คณะกรรมการบริหารงานบุคคล ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ “ข้าราชการ” หมายถึง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา สังกัด มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ และพนักงานในสถาบัน อุดมศึกษา ซึ่งได้รับการจ้างตามสัญญาจ้างให้ทำงานใน มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ โดยได้รับค่าจ้างหรือ ค่าตอบแทนจากเงินงบประมาณแผ่นดินหรือเงินรายได้ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

9 และ ระดับตำแหน่ง ประเภท
1.ประเภทผู้บริหาร : ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี ผู้อำนวยการกอง เลขานุการคณะ สำนัก หรือสถาบัน 2.ประเภททั่วไป ชื่อตำแหน่ง : (1) ระดับปฏิบัติงาน (2) ระดับชำนาญงาน และ (3) ระดับชำนาญงานพิเศษ ตำแหน่งแรกบรรจุ คือ ระดับปฏิบัติงาน : คุณวุฒิต่ำกว่าปริญญาตรี ตำแหน่งที่สามารถขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้นได้ (1) ระดับชำนาญงาน (2) ระดับชำนาญงานพิเศษ 3.ประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ชื่อตำแหน่ง : (1) ระดับปฏิบัติการ (2) ระดับชำนาญการ (3) ระดับชำนาญการพิเศษ (4) ระดับเชี่ยวชาญ (5) ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ ตำแหน่งแรกบรรจุ คือ ระดับปฏิบัติการ : คุณวุฒิปริญญาตรี ตำแหน่งที่สามารถขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้นได้ (1) ระดับชำนาญการ (2) ระดับชำนาญการพิเศษ (3) ระดับเชี่ยวชาญ (4) ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ

10 ชื่อตำแหน่ง ระดับตำแหน่ง
ช่างเครื่องยนต์ เจ้าหน้าที่ธุรการ ปฏิบัติงาน ต่ำกว่า ป.ตรี เจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป ชำนาญงาน เจ้าหน้าที่การเงินและพัสดุ ชำนาญงานพิเศษ นักวิชาการ ปฏิบัติการ นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ชำนาญการ ป.ตรี ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ

11 อย่าทำให้ใครแทนไม่ได้ มิฉะนั้นท่านจะไม่ได้เลื่อนตำแหน่ง

12 ค่า ประ งาน การ เมิน E v a l u a t I o n o f v a l u e
การกำหนดระดับตำแหน่ง ต้องยึดหลักการวิเคราะห์ภารกิจของหน่วยงานและประเมินค่างาน เพื่อวัดคุณภาพของตำแหน่งตามลักษณะงาน หน้าที่และความรับผิดชอบ คุณภาพ และความยุ่งยากของงาน ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ที่ต้องการในการปฏิบัติงาน โดยกำหนดหลักเกณฑ์การวิเคราะห์ภารกิจของหน่วยงานและหลักเกณฑ์การประเมินค่างานตามประเภทและตำแหน่ง

13 : ข้อกฎหมาย การกำหนดระดับตำแหน่งใดให้สูงขึ้น ตำแหน่งนั้นจะต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบ คุณภาพและความยุ่งยากของงานในตำแหน่งเพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญ ถึงขนาดที่จะต้องกำหนดตำแหน่งเป็นระดับสูงขึ้น โดยต้องดำเนินการอย่างโปร่งใสภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1.เป็นตำแหน่งตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานการจำแนกตำแหน่ง 2.ไม่มีผลทำให้อัตรากำลังเพิ่มขึ้น 3.ไม่มีผลให้มีการเพิ่มงบประมาณหมวดเงินเดือน และค่าจ้างประจำ 4.ต้องคำนึงถึงความมีประสิทธิภาพ ความไม่ซ้ำซ้อน และความประหยัด

14 เกณฑ์ แบบประเมิน แบบประเมิน ประเภท ระดับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ผ่าน กบม.01
ทั่วไป ชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ 100 64 84 กบม.02 วิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ กบม.03 เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ 300 170 235

15 จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.ซื่อสัตย์ทางวิชาชีพ ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็น ของตน, ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น, ไม่นำผลงานเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในวารสารมากกว่า 2 ฉบับ เพื่อให้เข้าใจว่าเป็นผลงานใหม่ 2.ให้เกียรติและอ้างถึงบุคคล หรือแหล่งที่มาของ ข้อมูลที่นำมาใช้และแสดงหลักฐานการค้นคว้า 3.ไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาชีพจนละเลยหรือ ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่นและสิทธิมนุษยชน 4.ผลงานต้องได้มาจากการศึกษาโดยใช้หลักวิชาชีพเป็น เกณฑ์ ไม่มีอคติมาเกี่ยวข้องและเสนอตามความเป็นจริง 5.ต้องนำผลงานไปใช้ในทางที่ชอบธรรมและชอบด้วยกฎหมาย

16 บทเพลงจากดอกไม้ ดอกไม้หากจะบาน “เมื่อถึงกาล มันบานแน่” ไม่ต้องแส่ แกะให้บาน จะพาลเฉา ทำอะไร เร่งไม่ได้ ตามใจเรา แต่ต้องเฝ้า ดูรักษา ผลมาเอง : ประโพธ เปาโลหิตย์

17 BYE BYE


ดาวน์โหลด ppt แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google