งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)
กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46) ศูนย์บริหารการปรับเปลี่ยนระบบบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงาน ก.พ. 16 กรกฎาคม 2551

2 ที่มา พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
มาตรา 45 กำหนดให้ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญมี 4 ประเภท คือ ประเภท บริหาร ประเภท อำนวยการ ประเภท วิชาการ ประเภท ทั่วไป และมาตรา 46 ได้มีการจัดระดับตำแหน่งไว้ในแต่ละประเภทตำแหน่ง ซึ่งวรรคท้าย ได้บัญญัติเกี่ยวกับการจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนดใน กฎ ก.พ.

3 ร่างต้นแบบแนวคิดในการจัดทำ...
ลักษณะงาน ร่างต้นแบบแนวคิดในการจัดทำ... ประเภทตำแหน่ง (วิชาการ) สายงาน จัดทำมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง Grade Description ระดับชำนาญการพิเศษ จัดตำแหน่งประเภทเดียวกัน และสายงานเดียวกันที่คุณภาพ ของงานเท่ากันเป็นระดับเดียวกัน แนวคิดพื้นฐานจาก มาตรา 48 ที่ให้ ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง โดยจำแนกตำแหน่ง เป็นประเภทและสายงานตามลักษณะงาน และจัดตำแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกัน ที่คุณภาพของงานเท่ากันโดยประมาณเป็นระดับเดียวกัน ...

4 หลักการ มีบรรทัดฐาน ครอบคลุม ปรับเปลี่ยนง่าย
ครอบคลุมทุกลักษณะงานในราชการพลเรือน 19 กระทรวง โดยสามารถจำแนกความแตกต่างได้ชัดเจน เดิมกำหนดไว้ใน มาตรา 42 พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือน 2535 ทำให้ปรับเปลี่ยนได้ยาก เป็นบรรทัดฐานใช้เทียบเคียงในการกำหนดตำแหน่ง

5 แนวความคิด กำหนดตามข้อเท็จจริงรูปแบบการจัดส่วนราชการ
สอดคล้อง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน กำหนดระดับตำแหน่งตามค่างานปัจจุบัน ระบุและอ้างอิงตำแหน่งหลักที่ใช้เป็นบรรทัดฐานเทียบเคียง สามารถจัดตำแหน่งที่มีอยู่ประเภทและระดับตำแหน่งได้ ทั้งหมด

6 ตำแหน่งประเภทบริหาร

7 ลักษณะงานของตำแหน่งประเภทบริหาร
ตำแหน่งรองอธิบดี, รองผู้ว่าราชการจังหวัด, หรือเทียบเท่า บริหารระดับสูง บริหารระดับต้น ปลัดกระทรวง, รองปลัดกระทรวง, อธิบดี, ผู้ว่าราชการจังหวัด, เอกอัครราชทูต, ผู้ตรวจราชการ ระดับกระทรวง, หรือเทียบเท่า สายงานในตำแหน่งประเภทบริหาร บริหาร บริหารงานทูต บริหารงานปกครอง ตรวจราชการ ตำแหน่งประเภทบริหาร หมายถึง ตำแหน่งในฐานะผู้บริหารของส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และในต่างประเทศ จำแนกเป็น ๒ ระดับ โดยจำแนกตำแหน่งตามโครงสร้างหน่วยงาน (Organisation Classification) (พิจารณาจากเอกสารร่างกฎ ก.พ. ตามมาตรา 46 เพิ่มเติม) 7

8 ตำแหน่งประเภทอำนวยการ

9 ลักษณะงานของตำแหน่งประเภทอำนวยการ
อำนวยการระดับสูง อำนวยการระดับต้น ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีการจัดการ ซึ่งเป็นงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ความยุ่งยาก และคุณภาพของงานสูงมากเป็นพิเศษ โดยเป็นตำแหน่งที่มีอำนาจหน้าที่รองจากหัวหน้าส่วนราชการ ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีการจัดการ ซึ่งเป็นงานมีหน้าที่ความรับผิดชอบ ความยุ่งยาก และคุณภาพของงานสูงมาก โดยเป็นตำแหน่งที่มีอำนาจหน้าที่รองจากหัวหน้าส่วนราชการ ผู้อำนวยการ... ผู้อำนวยการ... ตำแหน่งประเภทอำนวยการ หมายถึง ตำแหน่งในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับต่ำกว่าระดับกรมที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ

10 ตำแหน่งประเภทวิชาการ

11 ลักษณะงานของตำแหน่งประเภทวิชาการ
วิชาชีพเฉพาะ วิชาการ/ปฏิบัติการ หัวหน้าหน่วยงาน ที่ปรึกษา เชี่ยวชาญและได้รับ การยอมรับ ชช. ด้านวิชาการ ระดับกระทรวง ที่ปรึกษาระดับ กระทรวง กรม ระดับทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญใน งานสูงมาก ชช. ด้านวิชาการ ระดับกรม ที่ปรึกษาระดับ กรม ระดับเชี่ยวชาญ ระดับชำนาญการ พิเศษ ชำนาญการ ในงานสูงมาก ปฏิบัติงานวิชาการ (รอบรู้ ชำนาญงาน งานที่ยากซับซ้อน) หัวหน้าหน่วยงาน (งานปฏิบัติการ หรือวิชาการ) มีประสบการณ์ ปฏิบัติงานวิชาการ (มีประสบการณ์) หัวหน้าหน่วยงาน (งานปฏิบัติการ หรือวิชาการ) ระดับชำนาญการ ตำแหน่งแรกบรรจุ ระดับปฏิบัติการ 11

12 ตำแหน่งประเภททั่วไป

13 ลักษณะงานของตำแหน่งประเภททั่วไป บริการใน สายงานหลัก (มีประสบการณ์)
ทักษะพิเศษ ทักษะความ สามารถเฉพาะ (สูงมากเป็นพิเศษ) อาวุโส หัวหน้า หน่วยงาน ขนาดใหญ่ ทักษะความ สามารถเฉพาะ (สูงมาก) เทคนิค เฉพาะด้าน (สูงมาก) ชำนาญงาน หัวหน้า หน่วยงาน ระดับต้น ทักษะความ สามารถเฉพาะ (มีประสบการณ์) เทคนิค เฉพาะด้าน (มีประสบการณ์) บริการใน สายงานหลัก (มีประสบการณ์) บริการ สนับสนุน (มีประสบการณ์) ปฏิบัติงาน ตำแหน่งแรกบรรจุ 13


ดาวน์โหลด ppt กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google