ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถานการณ์ ผู้สูงอายุไทย ผศ.นันทยา อุดมพาณิชย์
2
Population of Thailand
11.7 ประชากรรวม (ต.ค.52) 66.9 ล้านคน ชาย : หญิง 32.9 : 34.0 ล้านคน
3
Thailand Population Pyramid
Source – Statistics Thailand 1960, 1980, National Statistics Organization. Population Projection Institute for Population and Social Research, Mahidol University
4
ใครคือผู้สูงอายุ ? USA: ≥ 65 ปี UK, THAILAND: ≥ 60 ปี AFRICA: ≥ 50 ปี
5
อัตราส่วนประชากรผู้สูงอายุทั่วโลก
UN, 2007
6
ประเทศที่มีอัตราส่วนผู้สูงอายุมากที่สุด
อายุ ≥ 60 ปี ลำดับที่ ญี่ปุ่น 27.9 1 อิตาลี 26.4 2 เยอรมัน 25.3 3 ไทย 11.0 68 UN, 2007
7
Create by Siriphan K. .
8
ท้าทายความสามารถของสังคมด้วย
การที่ประชากรมีอายุยืนยาวขึ้นถือว่าเป็นชัยชนะของมวลมนุษยชาติ แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นการ ท้าทายความสามารถของสังคมด้วย “Population ageing is a triumph of humanity but also a challenge to society” WHO at Geneva, 2002
9
ประเทศไทย :สังคมผู้สูงอาย(Aging Society)
ร้อยละประชากรผู้สูงอายุ วัยต้น วัยกลาง วัยปลาย ไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ตั้งแต่ 48 เช่นเดียวกับสิงคโปร์ ญี่ปุ่น ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ
10
อายุคาดเฉลี่ยของคนไทย
10.9 แหล่งที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
11
การกระจายตัวของประชากรผู้สูงอายุ
.
12
อัตราผู้สูงอายุแต่ละภาค พ.ศ. 2550
13
การกระจายตัวของประชากรผู้สูงอายุ
จำนวนสูงสุด 5 จว.แรก นครราชสีมา เชียงใหม่ ขอนแก่น นครศรีธรรมราช อุบลราชธานี
14
สถานภาพสมรสผู้สูงอายุ
15
ลักษณะการอยู่อาศัย ปัญหาการอยู่คนเดียว
16
พฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ
ทั้งสอง การออกกำลังกายสม่ำเสมอ สุรา บุหรี่
17
โรควิถีชีวิต มะเร็ง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ หลอดเลือดสมอง
18
อัตราการเป็นโรคเรื้อรัง
มะเร็ง 0.5 หลอดเลือดสมองตีบ 1.6 อัมพาต อัมพฤกษ์ 2.5 หัวใจ 7.0 เบาหวาน 13.3 ความดันโลหิตสูง 31.7
19
กลุ่มที่ 1 ผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ ปี) เป็นผู้ที่ยังแข็งแรง สุขภาพดี อยู่ได้ตามลำพัง เป็นอิสระ ช่วยเหลือตนเองได้ ควรมีการจรรโลง สุขภาพที่ดีไว้ กลุ่มที่ 2 ผู้สูงอายุตอนปลาย (อายุ ปี) ถ้าไม่มีโรค ประจำตัวและดูแลสุขภาพดีก็ยังแข็งแรง แต่ต้องพึ่งพิง ควรได้รับการ ช่วยเหลือในชีวิตประจำวัน และการเฝ้าระวังทางสุขภาพ กลุ่มที่ 3 ผู้สูงอายุสูงสุด (อายุ 80 ปีขึ้นไป) ต้องการผู้ดูแล ช่วยเหลือในชีวิตประจำวันต้องการดูแลด้านการแพทย์และเวชศาสตร์ ผู้สูงอายุตามสาเหตุ ซึ่งอาจจะเป็นการดูแลที่บ้านหรือสถานพยาบาลที่ ต้องการความต่อเนื่องของบริการที่มีลักษณะแบบบูรณาการ
20
แนวทางการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
1. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุดูแลช่วยเหลือตนเองให้ได้อยู่ใน ครอบครัวที่มีความเอื้ออาทร โดยชุมชนมีส่วนร่วมช่วยเหลือ หน่วยงานบริการทางการแพทย์หรือทางสังคมจะเข้าไปช่วยเหลือ เมื่อมีความต้องการหรือมีปัญหา 2. แบ่งกลุ่มผู้สูงอายุตามนิยามขององค์การสหประชาชาติเป็น 3 กลุ่ม เพื่อการแลช่วยเหลือที่แตกต่างกันตามความเหมาะสมของ สภาวะทางกาย ทางจิต และสภาวะพึ่งพิง รวมถึงความต้องการที่ แตกต่างกัน
21
ขอบคุณค่ะ .
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.