งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
แล้วทำไมถึงต้องมี กบข.

3 ทำไมต้องปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ
เพราะไม่สามารถวางแผนเชิงบริหารการเงิน ของประเทศในระยะยาว เพราะไม่เอื้อต่อการวางแผนพัฒนาบุคลากรของรัฐ เพราะต้องการสร้างสถาบันเงินออมของประเทศ

4 ปัจจัยสนับสนุนการปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ
เศรษฐกิจ - ผู้เกษียณอายุมีความ ต้องการรายได้และความ คาดหวังรายได้หลังเกษียณสูงขึ้น - เพื่อให้มีเงินออมในระบบมากขึ้น สังคม - วัฒนธรรมการดูแลผู้สูงอายุ กำลังหายไปจากสังคมไทย - สัดส่วน วัยทำงาน : ผู้เกษียณอายุ ลดลงอย่างต่อเนื่อง - ช่วงอายุคาดหวังเฉลี่ยของคนยาวขึ้น ประชากร ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

5 แนวโน้มอายุเฉลี่ยของประชากร
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 0% 20% 40% 60% 80% 100% พ.ศ 2548 2553 2563 2573 2583 2593 2603 2613 2618 ร้อยละ ของประชากร อายุ มากกว่า 60 ปี อายุ 15-60 ปี อายุ น้อยกว่า 15 ปี

6 สัดส่วนคนทำงาน / ผู้สูงอายุ
20 40 60 80 100 2543 2548 2563 2568 ปี จำนวนคน ผู้สูงอายุ คนทำงาน ผู้สูงอายุ คนทำงาน 13 100 16 23 31 50 (คน)

7 สถิติค่าใช้จ่ายของภาครัฐ
ที่มา : พระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ 20 40 60 80 2547 2548 2549 2550 2551 2552 พันล้านบาท พ.ศ. 100 83,480  73,145  70,000  60,000  49,000  55,000  เงินเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ

8 1. แบบบังคับรัฐบริหาร (Define Benefit)
ตาข่ายแห่งความมั่นคงของสังคม 1. แบบบังคับรัฐบริหาร (Define Benefit) 2. แบบบังคับ เอกชนบริหาร(Define Contribution) 3. ระบบการออมโดยสมัครใจ(Additional Savings)

9 ระบบบำเหน็จบำนาญ (กรมบัญชีกลาง) เงินที่จะได้รับหลังเกษียณ
ตาข่ายแห่งความมั่นคงของสังคม ตาข่ายชั้นที่ 1 แบบบังคับรัฐบริหาร (Define Benefit) ผู้สะสม รัฐ ระบบบำเหน็จบำนาญ (กรมบัญชีกลาง) การเป็นสมาชิก บังคับ เงินที่จะได้รับหลังเกษียณ กำหนดจำนวนเงิน ประกันสังคม ผู้บริหารกองทุน รัฐ

10 ตาข่ายแห่งความมั่นคงของสังคม
ตาข่ายชั้นที่ 2 แบบบังคับเอกชนบริหาร (Define Contribution) ผู้สะสม บุคคล และ/หรือ นายจ้าง กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ(กบข.) การเป็นสมาชิก บังคับ เงินที่จะได้รับหลังเกษียณ เงินออมรายบุคคล กองทุนการออมเพื่อชราภาพ(กอช.) (ถ้ามี) ผู้บริหารกองทุน เอกชน

11 บุคคล และ/หรือ นายจ้าง เงินที่จะได้รับหลังเกษียณ
ตาข่ายแห่งความมั่นคงของสังคม ตาข่ายชั้นที่ 3 ระบบการออมโดยสมัครใจ (Additional Savings) ผู้สะสม บุคคล และ/หรือ นายจ้าง RMF / ประกันชีวิต การเป็นสมาชิก สมัครใจ กองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ RMF / ประกันชีวิต เงินที่จะได้รับหลังเกษียณ เงินออมรายบุคคล ผู้บริหารกองทุน เอกชน

12 สถานภาพกองทุน กองทุนประกันสังคม 9,293,600 567,906 กรณีชราภาพ
ประเภทกองทุน จำนวนสมาชิก มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ (คน) (ล้านบาท) กองทุนประกันสังคม ,293, ,906 กรณีชราภาพ กองทุนบำเหน็จบำนาญ ,168, ,881 ข้าราชการ (กบข.) ข้อมูล ณ ธันวาคม 2551 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ,013, ,296.45

13 สมาชิก กบข. สถานะสมาชิก กบข. ระบบแบบออมโดยสมัครใจ
RMF / ประกันชีวิต ระบบแบบบังคับ รัฐบริหาร ระบบบำเหน็จบำนาญ (กรมบัญชีกลาง) บำเหน็จบำนาญ ระบบแบบบังคับเอกชนบริหาร กบข. เงินสะสม เงินสมทบ เงินชดเชย เงินประเดิม ระบบบำเหน็จบำนาญในประเทศ เริ่มขึ้นตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 5 ) โดยพระองค์ทรงมีพระราชดำริว่า "ราชการบ้านเมืองมีมากขึ้นกว่าแต่ก่อน แม้จะเพิ่มเงินเดือนให้มากขึ้นก็ตาม ไม่ใคร่ได้มีโอกาสที่จะสะสมทรัพย์ไว้เลี้ยงตนเมื่อแก่ชราหรือทุพพลภาพ" ด้วยเหตุนี้ จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการตราพระราชบัญญัติเพื่อจ่ายเบี้ยบำนาญขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พุทธศักราช 2444 เรียกว่า พระราชบัญญัติเบี้ยบำนาญรัตนโกสินทร์ศก 120 ซึ่งภายหลังได้มีการปรับปรุงและแก้ไขเพิ่มเติมตลอดมา ระบบบำเหน็จบำนาญเดิมนั้น มีลักษณะของการที่รัฐบาลรับภาระที่จะชำระเงินให้แก่ข้าราชการแต่ละคน ด้วยเงินจำนวนหนึ่งเมื่อเกษียณอายุ (Pay-as-you-go) ตามหลักสูตรการคำนวณที่อิงจากเงินเดือนสุดท้าย และอายุงานเป็นหลัก และจัดตั้งงบประมาณไว้ครั้งละ 1 ปี ตามแต่คำนวณยอดของผู้ครบเกษียณอายุในปีนั้นๆ โดยมิได้มีการกันเงินสำรองล่วงหน้าระยะยาวและไม่ได้กำหนดให้สมาชิกสะสมเงินออมไว้ในยามเกษียณอายุ ซึ่งเป็นช่วงที่ไม่มีรายรับจากการทำงานต่อไป ดังนั้น ในหลายประเทศ แม้ประเทศที่พัฒนาแล้วก็เริ่มมองเห็นแนวโน้มของปัญหา ที่อาจส่งผลกระทบต่อความสามารถของรัฐบาล ในการรับผิดชอบต่อการดูแลผู้เกษียณอายุในระบบดังกล่าว ซึ่งจะใช้ได้ดีในช่วงที่จำนวนผู้เกษียณอายุไม่มากนัก แต่ในภาวะปัจจุบันที่จำนวนข้าราชการเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก และผู้เกษียณอายุก็เพิ่มขึ้นมาก ประกอบกับการแพทย์สมัยใหม่ได้ทำให้คนมีอายุยืนนานขึ้น ในขณะเดียวกันจำนวนประชากรมีแนวโน้มลดลงจากนโยบายรณรงค์การคุมกำเนิดที่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อรายได้ของรัฐบาล จากการเก็บภาษีอากรในอนาคต เมื่อเปรียบเทียบกับภาระที่จะต้องชำระ ต่อผู้ครบเกษียณอายุ ด้วยเหตุนี้ประเทศต่างๆเหล่านั้น จึงหันมาสนับสนุนให้มีระบบการออมเพื่อเกษียณมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การใช้เงินเดือนสุดท้ายเป็นหลักในการคำนวณสำหรับระบบบำเหน็จบำนาญเดิมนั้น จะทำให้รัฐไม่สามารถปรับปรุงอัตราเงินเดือนของข้าราชการที่ยังรับราชการอยู่ให้สอดคล้องกับภาวะครองชีพที่แท้จริงได้ และหากมีการปรับปรุงเงินเดือนของข้าราชการ ก็จะส่งผลให้รายจ่ายบำนาญข้าราชการที่ออกจากงานไปแล้ว สูงเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ภาระการจ่ายบำเหน็จบำนาญในอนาคต เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราส่วนรายจ่ายประจำก็เพิ่มสูงขึ้นมาก ดังนั้นระบบบำเหน็จบำนาญเดิมที่ไม่มีการกันเงินจ่ายจริงไว้ตั้งแต่เริ่มต้น และไม่มีการลงทุนได้รับผลประโยชน์จากเงินดังกล่าว ในขณะที่รัฐบาลมีภาระผูกพันต่อข้าราชการสูงในอนาคต จะไม่เป็นไปตามหลักการบริหารการคลังที่ดี และทำให้ขาดหลักประกันแก่ผู้รับบำนาญและข้าราชการปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้ รัฐจึงจำเป็นต้องหาแนวทางที่จะสร้างหลักประกันให้แก่ข้าราชการเมื่อออกจากราชการ และเพื่อให้สามารถวางแผนเชิงบริหารการคลังในระยะยาวได้ จึงเป็นที่มาของการปรับปรุงระบบบำเหน็จบำนาญ เพื่อให้มีการกันเงินสำรองไว้ต่างหากและให้สมาชิกออมทรัพย์ด้วย โดยให้จัดตั้งในรูปแบบของกองทุน ซึ่งนอกจากจะเป็นหลักประกันแก่สมาชิกในยามเกษียณโดยตรงแล้ว ยังเป็นสถาบันเงินออมที่สำคัญโดยเฉพาะเมื่อประเทศไทย มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระดับสูงแต่ขาดแคลนเงินออมภายในประเทศ ซึ่งกองทุนดังกล่าวจะมีบทบาทอย่างยิ่งในการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จนในที่สุดกระทรวงการคลัง จึงได้ตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อศึกษาการจัดตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ได้มีการกลั่นกรองมาตามลำดับจนในที่สุดได้มีการตราเป็นพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ และประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2539

14 ความแตกต่างระหว่าง กบข. – ธนาคาร - สหกรณ์
วัตถุประสงค์ การดำเนินกิจกรรม ผลตอบแทน

15 ความแตกต่างระหว่าง กบข. และ ประกันสังคม(กองทุนเพื่อการชราภาพ)
รายละเอียด กบข. / กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ประกันสังคม (กองทุนเพื่อการชราภาพ) ลักษณะของกองทุน กองทุนเงินออมของแต่ละบุคคล (DC) กองทุนบำนาญรูปแบบหนึ่ง (DB) ผู้สะสม สมาชิกและนายจ้าง การจ่ายเงินคืน รายเดือนจนถึงเสียชีวิตตามที่สัญญาไว้(คิดตามสูตรคำนวณที่กำหนด) สวัสดิการรักษาพยาบาล เงินก้อน (เงินสะสม เงินสมทบ เงินประเดิม(ถ้ามี) เงินชดเชย (ถ้ามี)และผลประโยชน์) เป้าหมายของการ บริหารเงิน คำนึงถึงผลกำไร – ขาดทุน ของสมาชิก ผลตอบแทนระยะยาว(เพื่อให้มากพอที่จะจ่ายคืนเป็นบำนาญให้สมาชิก ระบบบำเหน็จบำนาญในประเทศ เริ่มขึ้นตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 5 ) โดยพระองค์ทรงมีพระราชดำริว่า "ราชการบ้านเมืองมีมากขึ้นกว่าแต่ก่อน แม้จะเพิ่มเงินเดือนให้มากขึ้นก็ตาม ไม่ใคร่ได้มีโอกาสที่จะสะสมทรัพย์ไว้เลี้ยงตนเมื่อแก่ชราหรือทุพพลภาพ" ด้วยเหตุนี้ จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการตราพระราชบัญญัติเพื่อจ่ายเบี้ยบำนาญขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พุทธศักราช 2444 เรียกว่า พระราชบัญญัติเบี้ยบำนาญรัตนโกสินทร์ศก 120 ซึ่งภายหลังได้มีการปรับปรุงและแก้ไขเพิ่มเติมตลอดมา ระบบบำเหน็จบำนาญเดิมนั้น มีลักษณะของการที่รัฐบาลรับภาระที่จะชำระเงินให้แก่ข้าราชการแต่ละคน ด้วยเงินจำนวนหนึ่งเมื่อเกษียณอายุ (Pay-as-you-go) ตามหลักสูตรการคำนวณที่อิงจากเงินเดือนสุดท้าย และอายุงานเป็นหลัก และจัดตั้งงบประมาณไว้ครั้งละ 1 ปี ตามแต่คำนวณยอดของผู้ครบเกษียณอายุในปีนั้นๆ โดยมิได้มีการกันเงินสำรองล่วงหน้าระยะยาวและไม่ได้กำหนดให้สมาชิกสะสมเงินออมไว้ในยามเกษียณอายุ ซึ่งเป็นช่วงที่ไม่มีรายรับจากการทำงานต่อไป ดังนั้น ในหลายประเทศ แม้ประเทศที่พัฒนาแล้วก็เริ่มมองเห็นแนวโน้มของปัญหา ที่อาจส่งผลกระทบต่อความสามารถของรัฐบาล ในการรับผิดชอบต่อการดูแลผู้เกษียณอายุในระบบดังกล่าว ซึ่งจะใช้ได้ดีในช่วงที่จำนวนผู้เกษียณอายุไม่มากนัก แต่ในภาวะปัจจุบันที่จำนวนข้าราชการเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก และผู้เกษียณอายุก็เพิ่มขึ้นมาก ประกอบกับการแพทย์สมัยใหม่ได้ทำให้คนมีอายุยืนนานขึ้น ในขณะเดียวกันจำนวนประชากรมีแนวโน้มลดลงจากนโยบายรณรงค์การคุมกำเนิดที่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อรายได้ของรัฐบาล จากการเก็บภาษีอากรในอนาคต เมื่อเปรียบเทียบกับภาระที่จะต้องชำระ ต่อผู้ครบเกษียณอายุ ด้วยเหตุนี้ประเทศต่างๆเหล่านั้น จึงหันมาสนับสนุนให้มีระบบการออมเพื่อเกษียณมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การใช้เงินเดือนสุดท้ายเป็นหลักในการคำนวณสำหรับระบบบำเหน็จบำนาญเดิมนั้น จะทำให้รัฐไม่สามารถปรับปรุงอัตราเงินเดือนของข้าราชการที่ยังรับราชการอยู่ให้สอดคล้องกับภาวะครองชีพที่แท้จริงได้ และหากมีการปรับปรุงเงินเดือนของข้าราชการ ก็จะส่งผลให้รายจ่ายบำนาญข้าราชการที่ออกจากงานไปแล้ว สูงเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ภาระการจ่ายบำเหน็จบำนาญในอนาคต เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราส่วนรายจ่ายประจำก็เพิ่มสูงขึ้นมาก ดังนั้นระบบบำเหน็จบำนาญเดิมที่ไม่มีการกันเงินจ่ายจริงไว้ตั้งแต่เริ่มต้น และไม่มีการลงทุนได้รับผลประโยชน์จากเงินดังกล่าว ในขณะที่รัฐบาลมีภาระผูกพันต่อข้าราชการสูงในอนาคต จะไม่เป็นไปตามหลักการบริหารการคลังที่ดี และทำให้ขาดหลักประกันแก่ผู้รับบำนาญและข้าราชการปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้ รัฐจึงจำเป็นต้องหาแนวทางที่จะสร้างหลักประกันให้แก่ข้าราชการเมื่อออกจากราชการ และเพื่อให้สามารถวางแผนเชิงบริหารการคลังในระยะยาวได้ จึงเป็นที่มาของการปรับปรุงระบบบำเหน็จบำนาญ เพื่อให้มีการกันเงินสำรองไว้ต่างหากและให้สมาชิกออมทรัพย์ด้วย โดยให้จัดตั้งในรูปแบบของกองทุน ซึ่งนอกจากจะเป็นหลักประกันแก่สมาชิกในยามเกษียณโดยตรงแล้ว ยังเป็นสถาบันเงินออมที่สำคัญโดยเฉพาะเมื่อประเทศไทย มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระดับสูงแต่ขาดแคลนเงินออมภายในประเทศ ซึ่งกองทุนดังกล่าวจะมีบทบาทอย่างยิ่งในการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จนในที่สุดกระทรวงการคลัง จึงได้ตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อศึกษาการจัดตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ได้มีการกลั่นกรองมาตามลำดับจนในที่สุดได้มีการตราเป็นพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ และประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2539 การติดตามผลดำเนินงานของกองทุน กองทุนนำเงินไปลงทุนแล้วขาดทุน หรือกำไรเท่าไหร่ กองทุนจะมีเงินจ่ายสมาชิก ตามที่สัญญาหรือไม่

16 ที่มา กบข. พ.ร.บ.กบข.2539 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ก.ย.2539
พ.ร.บ.กบข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ก.ย.2539 27 มี.ค พ.ร.บ. กบข. มีผลใช้บังคับทั้งฉบับ 15 มิ.ย มีบุคลากรเข้าทำงานที่สำนักงาน กบข. เลขาธิการคณะกรรมการ กบข.คนที่ 1 - มิ.ย เลขาธิการคณะกรรมการ กบข. คนที่ 2

17


ดาวน์โหลด ppt การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google