งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 5 ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium) ความหมายของตลาด การติดต่อซื้อขายสินค้าและบริการกันระหว่าง ผู้ซื้อและผู้ขาย ทั้งในสถานที่ที่เป็นตลาดโดยทั่วไป เช่น ตลาดสามย่าน ตลาดประตูน้ำ รวมถึง การติดต่อกันทางจดหมาย โทรศัพท์ โทรสาร หรือ พาณิชย์ อิเลคโทรนิค ฯลฯ ประเภทของตลาดในระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

2 ดุลยภาพของตลาดโดยใช้กลไกราคา P
Q Excess Supply S D 50 200 400 E 30 300 Ø     ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium) อยู่ ณ จุดที่ อุปสงค์ เท่ากับ อุปทาน Ø     ราคาสินค้าจะที่ทำให้อุปสงค์เท่ากับอุปทานเรียกว่า ราคาดุลยภาพ Ø     ปริมาณสินค้า ณ ระดับราคาดุลยภาพเรียกว่า ปริมาณดุลภาพ

3 การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ ผลของการเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์และอุปทาน (ที่ไม่ใช่ราคา) เช่น รายได้ เทคนิคการผลิต การคาดคะเนของผู้บริโภค ฯลฯ ผลของการเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ · กรณีอุปสงค์เพิ่มขึ้น · กรณีอุปสงค์ลดลง P Q D0 P Q S D1 D1 S D0 E E1 E1 E

4 P Q P Q ผลของการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน · กรณีอุปทานเพิ่มขึ้น
· กรณีอุปทานเพิ่มขึ้น · กรณีอุปทานลดลง S1 P Q P Q S0 D0 D0 S1 E1 S0 E E E1

5 การเปลี่ยนแปลงทั้งระดับอุปสงค์และอุปทาน
· กรณีอุปสงค์เพิ่มขึ้นมากกว่าอุปทานเพิ่มขึ้น P Q D1 S0 D0 S1 E1 E

6 การแทรกแซงกลไกตลาด การแทรกแซงด้านราคา การเก็บภาษีสินค้าและบริการ การกำหนดราคาขั้นต่ำ (Minimum Price Policy) 1.   ประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support Policy) 2.  การจ่ายเงินอุดหนุนผู้ผลิต (Producer Subsidy) 3.   การลดปริมาณการผลิต (Product Restriction) การกำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling)

7 การประกันราคาขั้นต่ำ (Price Support Policy)
ผลของการแทรกแซง P Q Excess Supply S0 ผู้ผลิตขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น = D0 Ps Qd Qs E Po Qo ผู้บริโภคซื้อสินค้าราคาแพงขึ้น = รัฐบาลต้องรับซื้อสินค้าส่วนเกิน =

8 การจ่ายเงินอุดหนุนผู้ผลิต (Producer Subsidy)
ผลของการแทรกแซง P Q S0 ผู้ผลิตขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น = D0 Ps E Po Qo ผู้บริโภคซื้อสินค้าราคาเท่าเดิม (Po) รัฐบาลจ่ายเงินอุดหนุนให้ผู้ผลิต =

9 แต่ผู้ผลิตจะมีรายรับเพิ่มขึ้นหรือไม่
     การลดปริมาณการผลิต (Product Restriction) S1 ผลของการแทรกแซง P Q ผู้ผลิตขายสินค้าได้ราคาสูงขึ้น = S0 D0 E1 P1 ผู้บริโภคซื้อสินค้าราคาเพิ่มขึ้น = E Po Qo Q1 ผลของการลดปริมาณการผลิต คือ P สูงขึ้น แต่ Q ลดลง จาก Po Qo เป็น P1 Q1 แต่ผู้ผลิตจะมีรายรับเพิ่มขึ้นหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ Ed

10 Ed = % Q / % P รายรับ = ราคา x ปริมาณ = P x Q
สมมุติ P เพิ่ม 10% , Q ลด 20% ถ้า รายรับเดิม = Po x Qo = 20 x 100 = รายรับใหม่ = P1 x Q1 = 22 x 80 สมมุติ P เพิ่ม 20% , Q ลด 10% ถ้า รายรับเดิม = Po x Qo = 20 x 100 = รายรับใหม่ = P1 x Q1 = 24 x 90

11 กำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling)
S Px Qx D เป็นการแทรกแซงเพื่อช่วยผู้บริโภค ผลของการแทรกแซง Pe ผลิตและผู้บริโภคซื้อขายกันในราคา Pc เกิด Excess D = รัฐต้องใช้การปันส่วนสินค้า และหามาตรการป้องกันตลาดมืด Pc Qs Qd Excess D

12 การเก็บภาษีสินค้าและบริการ
เก็บภาษีต่อหน่วยผู้ขาย S1 Px Qx So P1 Tax Po Qo Q1

13 การเก็บภาษีสินค้าและบริการ
S1 รายได้ภาษีที่รัฐจัดเก็บ = Eo So Px Qx Do E1 ผู้ซื้อเสียภาษี = P1 Q1 TAX ผู้ขายเสียภาษี = B D Po Qo *** ภาระภาษี จะตกอยู่กับผู้ซื้อและผู้ขายมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ Ed และ Es

14 อุปสงค์มีความยืดหยุ่นต่ำ (0<Ed<1)
ผู้บริโภครับภาระภาษีมากกว่า S1 Px Qx Eo So Do E1 P1 Q1 B D Po Qo

15 อุปสงค์มีความยืดหยุ่นสูง (1>Ed<) ผู้ขายจะรับภาระภาษีมากกว่า
S1 Px Qx So D E Q1 Qo

16 ทฤษฎีใยแมงมุม (Cobweb Theory)
อธิบายปรากฏการณ์เกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าเกษตรกรรม ซึ่งผู้ผลิตจะราคาสินค้าเกษตรในช่วงเวลาหนึ่งที่ผ่านมา เป็นตัวกำหนดปริมาณสินค้าที่จะขายในช่วงถัดไป ทำให้การเปลี่ยนแปลงของราคาและปริมาณของสินค้ามีลักษณะเหมือนใยแมงมุม Px Qx S P3 P1 P2 D Q2 Q3

17 S1 Px (บาท) Qx (หน่วย) ก่อนเก็บภาษี ราคาดุลภาพเท่ากับ บาท/หน่วย รัฐบาลจัดเก็บภาษีในอัตรา บาท/หน่วย ผู้ซื้อต้องรับภาระภาษีทั้งหมด บาท ผู้ขายรับภาระภาษีทั้งหมด บาท รายได้ของผู้ขายหลังเก็บภาษีมีค่าเท่ากับ บาท Eo So Do E1 50 100 30 150 20


ดาวน์โหลด ppt ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google