งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ 8 ลงมา YOUR LOGO โดย คุณอัญชลี สงวนพงศ์ ที่ปรึกษาด้านทรัพยากรบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล

2 สาระสำคัญของหนังสือเวียน
 ยกเลิก ว 16/2538 เฉพาะหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลตั้งแต่ระดับ 8 ลงมา และยกเลิก ว 11/2546 และ ว 6/2547  กำหนดให้มีการคัดเลือกบุคคลก่อนเข้ารับการประเมินผลงาน  ให้มีการประกาศผลการพิจารณาคัดเลือกอย่างเปิดเผยโปร่งใส และให้มีการทักท้วงได้ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

3  การคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานแบ่งเป็น 2 กรณี
 การคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานแบ่งเป็น กรณี √ ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 (ตำแหน่งที่มีคนครองอยู่ ) √ อ.ก.พ. กรม หรือคณะกรรมการคัดเลือกบุคคลที่ อ.ก.พ.กรมแต่งตั้ง (ตำแหน่งที่ว่าง)  การพิจารณาคุณสมบัติของบุคคลในเรื่องระยะเวลาขั้นต่ำมอบให้ อ.ก.พ.กรมหรือคณะกรรมการคัดเลือกที่ อ.ก.พ.กรม แต่งตั้งเป็นผู้พิจารณา สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

4  ขั้นตอนการดำเนินการคัดเลือกบุคคล
สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

5 กรณีการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเลื่อนไหลและมีคนครองอยู่
ขั้นตอนการคัดเลือกบุคคลที่จะเข้ารับการประเมินผลงานเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงาน กรณีการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเลื่อนไหลและมีคนครองอยู่ มีคนท้วง ผู้มีอำนาจ ม.57 พิจารณา แจ้งข้าราชการทราบ/ ปิดประกาศ ส่งผลงาน ตรวจสอบ โดยเร็ว มีมูล เสนอผู้มีอำนาจ ม. 57 ดำเนินการ ตาม ว 5/2542 ไม่มีมูล เสนอผู้มีอำนาจตาม ม.57สอบผู้ทักท้วง กจ. สำรวจข้อมูล/ ผบ.ประเมิน คุณลักษณะ/ แจ้งผู้มีคุณสมบัติ ส่งเอกสาร คกก.คัดเลือกสาขาที่เกี่ยวข้อง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

6 กรณีการแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งว่าง
เสนอผู้มีอำนาจตาม ม.57สอบผู้ทักท้วง มีคนท้วง อ.ก.พ.กรม / คกก. คัดเลือก เสนอผู้มีอำนาจ ม.57 เห็นชอบ แจ้งข้าราชการทราบ/ประกาศชื่อผู้ได้รับ การคัดเลือก/ ชื่อผลงาน ส่งผลงาน พิจารณาคัดเลือก อนุมัติ ตรวจสอบ โดยเร็ว มีมูล เสนอผู้มีอำนาจ ม. 57 ดำเนินการ ตาม ว 5/2542 ไม่มีมูล กจ. สำรวจข้อมูล/ ผบ.ประเมิน คุณลักษณะ/ แจ้งผู้มีคุณสมบัติ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

7  การส่งผลงานต้องส่ง 2 ส่วน คือ
√ ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา √ ข้อเสนอแนวคิด วิธีการ เพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุง งานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

8 การนำเสนอผลงานเพื่อขอประเมิน
กำหนดให้ผู้ขอประเมินเสนอผลงานที่จะขอประเมิน ดังนี้ 1. ผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ผลงานที่ผ่านมาเป็นผลสำเร็จของงาน ให้นำเสนอในรูปแบบการสรุปวิเคราะห์ถึงผลที่เกิดขึ้น ระบุผลสำเร็จของงาน ประโยชน์ที่เกิดจากผลงานนั้น หรือการนำผลงานไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหางาน ใช้เสริมยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน มิใช่เป็นเพียงการรวบรวมผลงานย้อนหลัง (ตัวอย่างรูปแบบการนำเสนอตามตัวอย่างที่ 1) สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

9 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
ตัวอย่างที่ 1 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 1. ชื่อผลงาน .………… ……...…......… 2. ระยะเวลาดำเนินการ ………….…………… 3. ความรู้ทางวิชาการหรือแนวความคิดที่ใช้ในการดำเนินการ….. 4. สรุปสาระและขั้นตอนการดำเนินการ …………………. 5. ผู้ร่วมดำเนินการ (ถ้ามี)…………(สัดส่วน)….……... 6. ส่วนของงานที่ผู้เสนอเป็นผู้ปฏิบัติ ………………….... 7. ผลสำเร็จของงาน (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)…………....… 8. การนำไปใช้ประโยชน์…………………………...… ต่อ

10 9. ความยุ่งยากในการดำเนินการ/ปัญหา/อุปสรรค ………………..…
10. ข้อเสนอแนะ …………………………………………… ขอรับรองว่าผลงานดังกล่าวข้างต้นเป็นความจริงทุกประการ ลงชื่อ …………………………… (……………………………) ผู้เสนอผลงาน ……../……….…/……….. ต่อ

11 ลงชื่อ ……………… ลงชื่อ ……….…… (.……………) (.................)
ขอรับรองว่าสัดส่วนหรือลักษณะงานในการดำเนินการของผู้เสนอข้างต้น ถูกต้องตรงกับความเป็นจริงทุกประการ ลงชื่อ ……………… ลงชื่อ ……….…… (.……………) ( ) ผู้ร่วมดำเนินการ ผู้ร่วมดำเนินการ …../….…/…… / / ได้ตรวจสอบแล้วขอรับรองว่าผลงานดังกล่าวข้างต้นถูกต้องตรงกับ ความเป็นจริงทุกประการ ลงชื่อ ลงชื่อ ………… ( ) (………………) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนัก/กอง…… ...../ / …../ …/….. ผบ.ที่ควบคุมดูแลการดำเนินการ ต่อ

12 2 ข้อเสนอแนวคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือ
ปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ข้อเสนอแนวคิด วิธีการ เพื่อพัฒนางานหรือ ปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ควรเป็นแนวคิด วิสัยทัศน์ หรือแผนงานที่จะทำในอนาคตเพื่อพัฒนางานในตำแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้งและสอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน รวมทั้งควรเป็น แนวคิดที่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

13 ตัวอย่างที่ 2 ข้อเสนอแนวความคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางาน/ปรับปรุงงานให้
ประสิทธิภาพมากขึ้น ของ ……………………………… …… เพื่อประกอบการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ………..… ตำแหน่งเลขที่ ….. สำนัก/กอง ………………………… เรื่อง ………… …………… หลักการและเหตุผล ………………………… … บทวิเคราะห์/แนวความคิด/ข้อเสนอ ….………....… ผลที่คาดว่าจะได้รับ …………………………….…… ตัวชี้วัดความสำเร็จ ………………………… ลงชื่อ ( ) ผู้เสนอแนวคิด / /......

14  การย้าย / โอน / บรรจุกลับ
สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

15  การย้าย / โอน / บรรจุกลับ
1. อ.ก.พ.กรม/คกก.คัดเลือกกำหนดวิธีการคัดเลือกบุคคล ตามความเหมาะสม 2. ผู้ที่ไม่เคยดำรงตำแหน่ง ว/วช. เมื่อผ่านการคัดเลือกแล้ว ให้ส่งผลงานประเมิน 3. ผู้ที่ดำรงตำแหน่ง/เคยดำรงตำแหน่ง ว/วช. ในระดับ เดียวกัน และจัดอยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกันกับตำแหน่ง ที่จะแต่งตั้ง เมื่อผ่านการคัดเลือกแล้ว ให้แต่งตั้งได้ โดยไม่ต้องประเมินผลงาน กรณีนอกเหนือจากข้อ 2 และ 3 ให้ อ.ก.พ.กรม/คกก.คัดเลือก เป็นผู้พิจารณาคัดเลือกและประเมินบุคคล อาจไม่ต้องจัดทำ ผลงานใหม่ หรืออาจสั่งให้ส่งผลงานเพื่อประเมินก็ได้ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

16  คุณสมบัติของบุคคลที่จะได้รับแต่งตั้ง
สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

17  คุณสมบัติของบุคคลที่จะได้รับแต่งตั้ง
เป็นผู้ผ่านการประเมินบุคคล มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง มีคุณสมบัติในเรื่องเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ของสายงานต่างๆ และ/หรือ คุณวุฒิเพิ่มเติมครบถ้วน ตามที่ ก.พ. กำหนด สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

18 ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 7 ปี 5 ปี 3 ปี 6 ปี 4 ปี 2 ปี 8 ปี
มีระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรง ตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิของบุคคล และระดับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง ดังนี้ ปริญญาตรี รับเงินปจต. ปริญญาโท ปริญญาเอก 7 ปี 5 ปี 3 ปี ชำนาญการ 6 ปี 4 ปี 2 ปี พิเศษ 8 ปี ระดับ คุณวุฒิ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

19 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคล เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษลงมา ตามประกาศ อ.ก.พ. กรมชลประทาน ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2556 สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

20 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคล เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษลงมา หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อย้าย โอน หรือบรรจุกลับ ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

21 1. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคล
เพื่อเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

22 คุณสมบัติของผู้ขอรับการคัดเลือก
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ คุณสมบัติของผู้ขอรับการคัดเลือก ผู้ขอรับการคัดเลือกจะต้องมีคุณสมบัติ 3 ด้าน ดังนี้ ด้านคุณสมบัติของบุคคล ด้านคุณลักษณะของบุคคล ด้านผลงาน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

23 ด้านคุณสมบัติของบุคคล
สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

24 ด้านคุณสมบัติของบุคคล
1. วุฒิการศึกษา ต้องตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หรือได้รับการยกเว้นจาก ก.พ. 2. ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ให้ดำรงตำแหน่งในระดับก่อนหน้ามาไม่ต่ำกว่า...ดังนี้ ระดับ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ วุฒิ ปริญญาตรี 6 ปี 4 ปี ปริญญาโท ปริญญาเอก 2 ปี สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

25 ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ)
3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ ระดับ ชำนาญการ รับเงินปจต. ชำนาญการพิเศษ วุฒิ ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า 6 ปี 7 ปี 8 ปี ปริญญาโท หรือเทียบเท่า 4 ปี 5 ปี ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า 2 ปี 3 ปี สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

26 ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ)
3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 1) ต้องดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งหรือได้ปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

27 ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ)
3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ นำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับสายงานที่จะแต่งตั้ง หรือระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ในสายงานที่จะแต่งตั้งมานับรวม 2) ถ้าไม่ครบ 1 ปี นับเฉพาะ ประเภทวิชาการ “ขณะนำเวลาดังกล่าวมานับ ผู้นั้นต้องมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง และข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง” สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

28 ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ) ให้นับเป็นระยะเวลาขั้นต่ำได้ตามข้อเท็จจริง
3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 3) การพิจารณานำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลมานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ให้พิจารณา ระยะเวลาที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงที่มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะของตำแหน่ง ข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง โดยให้พิจารณาตามลักษณะงานที่ปฏิบัติงานจริง และประโยชน์ที่ราชการจะได้รับ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน ให้นับเป็นระยะเวลาขั้นต่ำได้ตามข้อเท็จจริง

29 ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ)
3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 3) การพิจารณานำระยะเวลาการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานอื่นซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลมานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง (ต่อ) การนับระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของสายงานตำแหน่งประเภททั่วไป หรือ สายงานที่เทียบเท่า กรณีเป็นข้าราชตามกฎหมายอื่น เว้นแต่ ให้นับได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาการปฏิบัติงานที่นำมานับ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

30 ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ)
3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 4) กรณีการนับระยะเวลาปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ต้องมี คำสั่งรักษาราชการแทน/ รักษาราชการในตำแหน่ง คำสั่งมอบหมาย ให้ปฏิบัติหน้าที่ หรือ ต้องมีการปฏิบัติงานจริง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

31 ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ)
3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 5) การพิจารณานับระยะเวลาขั้นต่ำให้คณะกรรมการคัดเลือกเป็นผู้พิจารณาตามแนวทาง ดังนี้ 5.1) การนับระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งประเภทวิชาการ หรือเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น ซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับสายงานที่จะแต่งตั้ง นับได้เต็มเวลา กลุ่มตำแหน่งเดียวกัน เหมือนหรือคล้ายคลึงมากกว่าครึ่ง ลักษณะงาน ที่ปฏิบัติจริง ไม่อยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน นับได้ ไม่เกินครึ่งหนึ่ง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน เหมือนหรือคล้ายคลึงไม่เกินครึ่ง

32 ด้านคุณสมบัติของบุคคล (ต่อ)
3. ระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้งตามคุณวุฒิและระดับตำแหน่ง ดังนี้ (ต่อ) ทั้งนี้ 5) การพิจารณานับระยะเวลาขั้นต่ำให้คณะกรรมการคัดเลือกเป็นผู้พิจารณาตามแนวทาง ดังนี้ 5.2) การนับระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป หรือที่เทียบเท่ากรณีเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น มานับรวมเป็นระยะเวลาขั้นต่ำในการดำรงตำแหน่งที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับการดำรงตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ให้พิจารณานับระยะที่ได้ปฏิบัติงานในช่วงที่ผู้นั้นมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง และข้อกำหนดอื่นที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งในสายงานที่จะแต่งตั้ง ให้นับได้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของระยะเวลาที่นำมานับ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

33 ด้านคุณลักษณะบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

34 ผ่าน ด้านคุณลักษณะบุคคล คะแนนรวม 100 คะแนน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ประเมิน
ผู้บังคับบัญชาที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของผู้คัดเลือกโดยตรง ประเมิน ผอ./ผส. สำนัก/กอง เห็นสอดคล้อง ผ่าน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

35 ด้านผลงาน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

36 ไม่เกิน 3 เรื่อง (ขึ้นกับคุณภาพผลงาน)
ด้านผลงาน ต้องเสนอผลงานดังนี้ ผลการปฏิบัติงานย้อนหลัง 3 ปี ไม่เกิน 3 เรื่อง (ขึ้นกับคุณภาพผลงาน) ชื่อผลงานที่จะส่งประเมิน พร้อมเค้าโครง แนวคิดที่จะพัฒนางานในตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง 1 เรื่อง ข้อเสนอแนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนาปรับปรุงงาน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

37 ผู้ขอรับการประเมินผลงาน
หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ คุณสมบัติของ ผู้ขอรับการประเมินผลงาน เป็นผู้ได้รับการคัดเลือกเพื่อประเมินผลงาน มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หรือได้รับการยกเว้นจากก.พ.แล้ว มีคุณสมบัติในเรื่องเกี่ยวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในสายงานต่างๆ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

38 ผลงานที่จะส่งประเมิน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนและ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับชำนาญการพิเศษ ผลงานที่จะส่งประเมิน ผลงานหรือผลสำเร็จของงานที่เกิดจากการปฏิบัติงาน ใช้รูปแบบการเสนอผลงานตามที่ ก.พ.กำหนด ข้อเสนอแนวคิด วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นในตำแหน่งที่จะได้รับการแต่งตั้ง “ผลงานที่ใช้เป็นผลงานที่เกิดขึ้นในระหว่างดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าระดับที่ขอประเมินไม่เกิน 1 ระดับ” จัดทำเป็นรูปเล่ม สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

39 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนและ
แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับชำนาญการพิเศษ (ต่อ) ระยะเวลาย้อนหลังของผลงาน ไม่เกิน 5 ปี จำนวนของผลงานที่จะส่งประเมิน ไม่เกิน 3 เรื่อง (ขึ้นกับคุณภาพ) กรณีเป็นผลงานร่วมกันหลายคน ให้ระบุสัดส่วนว่าตนเองใช้ความรู้ความสามารถอย่างไร โดยให้เขียนเป็นร้อยแก้ว และระบุสัดส่วนเป็นร้อยละ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

40 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพของผลงาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงานเพื่อเลื่อนและ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับชำนาญการพิเศษ (ต่อ) การเผยแพร่ผลงาน ใช้หลักเกณฑ์ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละสาขา ยกเว้นวิศวกรรมศาสตร์2(ด้านเครื่องกลและไฟฟ้า) วิธีการประเมินผลงาน พิจารณาเฉพาะผลงาน ให้ผู้ขอรับการประเมินมานำเสนอให้คกก. เกณฑ์การตัดสินคุณภาพของผลงาน ใช้หลักเกณฑ์ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละสาขา ยกเว้นวิศวกรรมศาสตร์2(ด้านเครื่องกลและไฟฟ้า) สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

41 2. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคล
เพื่อย้าย โอน หรือ บรรจุกลับให้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

42 หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของ ผู้ขอรับการประเมินผลงาน
มีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ถ้ากำหนดไว้) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละสาขา หรือได้รับการยกเว้นจากก.พ. ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งใน สายงานประเภทวิชาการ ผู้ขอรับการคัดเลือกจะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน หรือได้รับการยกเว้นหรือลดหย่อนคุณสมบัติจาก ก.พ. ก่อนที่จะส่งผลงานเพื่อขอรับการประเมิน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

43 หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล
1. ให้ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา 57 เป็นผู้พิจารณาคัดเลือก กรณีผู้ที่ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ และจัดอยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน ทั้งนี้ เมื่อผ่านการคัดเลือกแล้วให้แต่งตั้งได้โดยไม่ต้องมีการประเมินผลงาน 2. ให้คณะกรรมการคัดเลือกเป็นผู้พิจารณาคัดเลือก ดังนี้ 2.1 กรณีไม่เคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ หรือระดับชำนาญการพิเศษ แต่เคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ 2.2 กรณีดำรงตำแหน่ง หรือเคยดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ หรือชำนาญการ หรือระดับชำนาญการพิเศษ แต่ไม่ได้อยู่ในกลุ่มตำแหน่งเดียวกัน หรือกรณีเป็นพนักงานหรือข้าราชการตามกฎหมายอื่น ซึ่งมีลักษณะงานเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน 2.3 กรณีอื่นๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ให้พิจารณาเป็นรายๆไป

44 หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล (ต่อ)
ผู้ขอรับการคัดเลือกตามกรณีที่ 2.1, 2.2, 2.3 ต้องจัดทำเอกสารประกอบการคัดเลือก ดังนี้ 1. ข้อมูลส่วนบุคคล 5. ข้อเสนอแนวคิดเพื่อพัฒนางานในตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง 1 เรื่อง 2. การประเมินลักษณะบุคคล 6. แบบเปรียบเทียบหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่เคยดำรงตำแหน่งและตำแหน่งที่จะรับย้าย โอน หรือบรรจุกลับ 3. ผลการปฏิบัติงานย้อนหลัง 3 ปี 4. ชื่อผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมาที่จะส่ง พร้อมเค้าโครง ชื่อผลงานและเค้าโครงผลงานจะต้องเป็นผลการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องหรือเกื้อกูลกับงานของตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง จำนวน 1 เรื่อง สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

45 หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล (ต่อ)
ต้องได้รับคะแนนรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ขึ้นไป ต้องคำนึงถึงกรณีที่บุคคลผู้นั้นได้รับการเลื่อนให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนทุกประการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้นด้วย สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

46 หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาคัดเลือกบุคคล (ต่อ)
แนวทาง 1. ผู้ผ่านการคัดเลือกตาม 2.1 ต้องทำผลงานเพื่อประเมินภายใน 2 เดือน 2. ผู้ผ่านการคัดเลือกตาม การจัดทำผลงานจะขึ้นกับกับพิจารณาของคณะกรรมการคัดเลือกบุคคล ถ้าเกี่ยวข้องเกื้อกูล เกินครึ่งขึ้นไป ไม่ต้องประเมินผลงาน ถ้าเกี่ยวข้องเกื้อกูล ไม่ถึงครึ่ง ต้องทำผลงานเพื่อประเมินภายใน 2 เดือน สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

47 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลงาน
ใช้หลักเกณฑ์วิธีการเดียวกับการประเมินผลงานเพื่อ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

48 3. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อ
รับเงินประจำตำแหน่งสำหรับผู้ดำรงตำแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

49 3. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อรับเงินประจำตำแหน่ง
สำหรับผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการ ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการในสายงานที่ กฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ กำหนดให้มีสิทธิ์ได้รับเงินประจำตำแหน่ง ผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ หรือเทียบเท่ามาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ให้มีสิทธิขอรับการประเมินบุคคลเพื่อรับเงินประจำตำแหน่ง “โดยให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินบุคคลเพื่อเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ”

50 รายการแสดงรายละเอียดในการจัดกลุ่มตำแหน่งสำหรับตำแหน่งประเภททั่วไปใน
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร /140 ลว. 3 เมษายน 2552) กลุ่มที่ 1 -เจ้าพนักงานธุรการ -เจ้าพนักงานพัสดุ -เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี -เจ้าพนักงานสถิติ กลุ่มที่ 2 -นายช่างโยธา -นายช่างชลประทาน -นายช่างสำรวจ -นายช่างเขียนแบบ กลุ่มที่ 3 -นายช่างเครื่องกล -นายช่างโลหะ กลุ่มที่ 5 -เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 4 -นายช่างไฟฟ้า -เจ้าพนักงานสื่อสาร กลุ่มที่ 6 -นายช่างศิลป์ -นายช่างภาพ -นายช่างพิมพ์ กลุ่มที่ 7 -เจ้าพนักงานการเกษตร กลุ่มที่ 8 -เจ้าพนักงานอุทกวิทยา กลุ่มที่ 9 -นายช่างเทคนิค กลุ่มที่ 10 -เจ้าพนักงานห้องสมุด สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล กรมชลประทาน

51 รายการแสดงรายละเอียดในการจัดกลุ่มตำแหน่งสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการใน
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร /180 ลว. 24 เมษายน 2554) กลุ่มที่ 1 - วิศวกรโยธา - วิศวกรชลประทาน - วิศวกร - นักอุทกวิทยา กลุ่มที่ 2 - วิศวกรสำรวจ - นักวิชาการแผนที่ภาพถ่าย - นักธรณีวิทยา กลุ่มที่ 3 - วิศวกรเครื่องกล - วิศวกรไฟฟ้า - วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร กลุ่มที่ 4 - สถาปนิก - มัณฑนากร กลุ่มที่ 5 - นักวิทยาศาสตร์ กลุ่มที่ 6 - นักวิชาการสิ่งแวดล้อม กลุ่มที่ 7 -นักวิชาการเกษตร กลุ่มที่ 8 - นักวิชาการคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 10 - นักวิทยาศาสตร์ กลุ่มที่ 11 - นักวิเคราะห์นโยบายและแผน - นักทรัพยากรบุคคล - นักจัดการงานทั่วไป - นักวิเทศสัมพันธ์ - นักประชาสัมพันธ์ กลุ่มที่ 12 - นิติกร - นักวิชาการจัดหาที่ดิน กลุ่มที่ 9 - นักวิเคราะห์นโยบายและแผน - เศรษฐกร กลุ่มที่ 12 - บรรณารักษ์

52


ดาวน์โหลด ppt สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google