งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วันที่ 25 มีนาคม 2556.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วันที่ 25 มีนาคม 2556."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วันที่ 25 มีนาคม 2556

2 วันที่ 24 เมษายน 2556 นายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า จากที่ คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเมื่อวันที่ 23 เม.ย. 2556เห็นชอบร่าง พ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ข้าราชการที่เป็นสมาชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) ที่เข้ารับราชการก่อนวันที่ 27 มี.ค และสมัครเป็นสมาชิก กบข. เลือกกลับไปใช้สิทธิรับบำเหน็จบำนาญตาม พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ ได้

3 วันที่ 24 เมษายน 2556 นายมนัส แจ่มเวหา อธิบดีกรมบัญชีกลาง กล่าวว่า ข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ หากเลือกกลับไปใช้ระบบบำนาญแบบเดิม ขอให้แสดงความประสงค์ ตั้งแต่วันถัดจากวันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 โดยจะได้รับเงินสะสม และดอกผลคืนจาก กบข.ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2557แต่จะไม่มีสิทธิได้รับเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสมทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว หลังออกจากราชการ มีสิทธิเลือกรับบำนาญจะได้รับบำนาญสูตรเดิมจนถึงวันที่เสียชีวิต ส่วนข้าราชการที่จะขอลาออก หรือถูกสั่งให้ออก จะใช้สิทธิเลือกได้ไม่เกินวันที่จะออกจากราชการ

4 สำหรับผู้รับบำนาญที่เป็นสมาชิก กบข.
วันที่ 24 เมษายน 2556 สำหรับผู้รับบำนาญที่เป็นสมาชิก กบข. สามารถแสดงความประสงค์ได้ตั้งแต่วันถัดจากวันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับจนถึงวันที่ มิถุนายน 2557 โดยผู้รับบำนาญจะได้รับบำนาญสูตรเดิมย้อนหลังตั้งแต่วันที่ออกจากราชการถึงวันที่ กันยายน 2557 แต่ต้องคืนเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสมทบ และดอกผลของเงินดังกล่าวให้กับทางราชการโดยวิธีหักกลบลบกันหากมีส่วนต่างที่ผู้รับบำนาญต้องชำระคืน ให้ชำระคืนแก่ส่วนราชการผู้เบิก เพื่อส่งต่อให้กรมบัญชีกลาง ภายใน 30 มิถุนายน 2557 แต่หากมีส่วนต่างที่รัฐต้องจ่ายคืน ให้จ่ายคืนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด ทั้งนี้ หากผู้รับบำนาญที่แสดงความประสงค์ไว้ถึงแก่ความตายก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ให้ถือว่าการแสดงความประสงค์ไม่มีผลใช้บังคับ

5

6

7

8

9 มีอายุราชการ 40 ปีขึ้นไป
ไม่เป็นสมาชิก กบข.ดีกว่า มีปัญหาเรื่องสุขภาพหรือไม่ ภายหลังเกษียณคาดว่าจะมีอายุอยู่เกิน 67 ปีขึ้นไป ความจำเป็นในการใช้จ่ายเงินภายหลังเกษียณ เช่น โครงการลงทุนต่างๆ

10 เงินบำนาญ คือเงินที่รัฐจ่ายให้แก่สมาชิกเป็นรายเดือนเมื่อพ้นสมาชิกภาพตามสูตรที่กำหนด โดยสมาชิกที่มีสิทธิเลือกรับบำนาญต้องเป็นสมาชิกที่ออกจากราชการและมีเวลาราชการยี่สิบห้าปีบริบูรณ์ขึ้นไป หรือออกจากราชการด้วยเหตุสูงอายุ เหตุทุพพลภาพ เหตุทดแทน และมีเวลาราชการสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป โดยรับจากกระทรวงการคลัง

11 เงินประเดิม คือเงินที่รัฐบาลนำส่งเข้าบัญชีสมาชิก กบข. ที่เป็นข้าราชการอยู่ก่อนวันที่ 27 มีนาคม เพื่อชดเชยเงินบำนาญที่ลดลงเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงสูตรเงินบำนาญสำหรับสมาชิก ซึ่งสมาชิกจะมีสิทธิขอรับเงินประเดิมได้เมื่อสิ้นสุดสมาชิกภาพ และต้องเป็นผู้ที่มีสิทธิรับและเลือกรับบำนาญเท่านั้น เงินสะสม คือเงินที่สมาชิกสะสมเข้ากองทุนเป็นประจำทุกเดือน ซึ่งขณะนี้อยู่ในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนสมาชิก และหากพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ ฉบับแก้ไขใหม่มีผลบังคับใช้แล้ว สมาชิกก็จะสามารถส่งเงินสะสมเพิ่มขึ้นได้ตามความสมัครใจของสมาชิกเป็นอัตราไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินเดือนทุกเดือน

12 เงินสมทบ คือเงินที่รัฐบาลจ่ายสมทบเข้ากองทุนให้สมาชิกที่สะสมเงินเข้ากองทุนเป็นประจำทุกเดือน ซึ่งขณะนี้อยู่ในอัตราร้อยละ 3 ของเงินเดือนสมาชิก ทั้งนี้หากพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ ฉบับแก้ไขมีผลบังคับใช้และสมาชิกต้องการสะสมเงินเข้ากองทุนเพิ่มขึ้น แต่ทางรัฐบาลจะยังคงสมทบเงินให้ในอัตราเท่าเดิม เงินชดเชย คือเงินที่รัฐบาลนำส่งเข้ากองทุนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อจ่ายเพิ่มให้แก่สมาชิกเพื่อชดเชยสูตรบำนาญที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งขณะนี้อยู่ในอัตราร้อยละ 2 ของเงินเดือน ซึ่งสมาชิกจะมีสิทธิได้รับเงินชดเชยต่อเมื่อมีสิทธิรับและเลือกรับบำนาญเท่านั้น

13 สูตรการคำนวณเงินประเภทต่าง ๆ
เงินบำเหน็จ คือ เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ เงินบำนาญสูตรเดิม คือ เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 เงินบำนาญสูตรสมาชิก คือ เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x เวลาราชการ ( แต่ไม่เกินร้อยละ 70 ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย )

14 หมายเหตุ การนับเวลาราชการเพื่อกำหนดสิทธิในบำเหน็จบำนาญนั้น
จะนับจากวันบรรจุจนถึงวันที่ออกจากราชการ โดยรวมวันทวีคูณด้วย การนับให้เกิดสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ ถ้ามีเศษของปีถึง 6 เดือน ให้นับเป็นหนึ่งปี เช่น เวลาราชการ 9 ปี 6 เดือน ถือว่าเกิดสิทธิในการรับบำเหน็จ หรือ 24 ปี 6 เดือน ถือว่าเกิดสิทธิในการรับบำนาญ แต่การคำนวณเงินบำเหน็จบำนาญ ให้ใช้เวลาราชการจริง เช่น เวลาราชการ 24 ปี 6 เดือน วิธีคำนวณ = / 12 เท่ากับ ปี

15

16


ดาวน์โหลด ppt วันที่ 25 มีนาคม 2556.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google