งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข

2 ที่ หัวข้อ ลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) พกส.
1 การบริหารกำลังคน ตามแผนการจ้างของหน่วยบริการแต่ละปี ตามกรอบอัตรากำลังคนในภาพรวมทุก 4 ปี โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข 2 การกำหนดตำแหน่งในการจ้างงาน ตามความต้องการของหน่วยบริการ ตามผลวิเคราะห์ความต้องการและเป็นไปตามกรอบอัตรากำลังคนที่คณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุขเห็นชอบไว้

3 ที่ หัวข้อ ลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) พกส.
3 ระยะเวลาการจ้าง ครั้งหนึ่งไม่เกินสิ้นปีงบประมาณ (30 กันยายน) ครั้งหนึ่งไม่เกิน 4 ปี อาจต่อสัญญาได้ 4 อัตราค่าจ้าง ตามที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกำหนด หรือหน่วยบริการเป็นผู้กำหนด ต้องไม่น้อยกว่าอัตราค่าจ้างที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกำหนด (11,340 บาท) ใช้บัญชีเงินเดือนของข้าราชการและลูกจ้างประจำ ยกเว้นสายงานวิชาชีพ ให้ได้รับ 1.2 เท่า ของเงินเดือนข้าราชการ (15,960 บาท)

4 ที่ หัวข้อ ลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) พกส.
5 การเลื่อนค่าจ้าง ปีละ 1 ครั้ง ทุกวันที่ 1 ตุลาคม ของปี โดยปรับเพิ่มค่าจ้างไม่เกินร้อยละ 6 (วงเงินที่ใช้ไม่เกินร้อยละ 4) ปีละ 1 ครั้ง ทุกวันที่ 1 ตุลาคม ของปี โดยปรับเพิ่มค่าจ้างไม่เกินร้อยละ 12 (วงเงินที่ใช้ไม่เกินร้อยละ 6) 6 การย้าย ต้องลาออกเพื่อไปรับการจ้างงานใหม่ ย้ายได้ ใช้สัญญาจ้างเดิม โดยได้รับความยินยอมจากหน่วยบริการคู่สัญญา

5 ที่ หัวข้อ ลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) พกส.
7 การเลิกจ้าง สิ้นสุดตามคำสั่งจ้าง (1 ปี) หรือไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 2 ครั้ง หรือทำผิดวินัยร้ายแรง หรืออายุครบ 60 ปี สิ้นสุดสัญญาจ้าง (4 ปี) หรือไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน 2 ครั้ง หรือทำผิดวินัยร้ายแรง หรืออายุครบ 60 ปี (บางสายงานกำหนดอายุ ปี)หรือเสร็จสิ้นภารกิจ

6 ที่ หัวข้อ ลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) พกส.
8 สิทธิการลาประเภทต่างๆ 1. ลาป่วย 2. ลากิจส่วนตัว 3. ลาพักผ่อน ปีแรก 8 วันทำการ ปีที่สอง 15 วันทำการโดยได้รับค่าจ้าง ลาได้ตามที่ได้รับอนุญาต โดยไม่ได้รับค่าจ้าง ปีละ 10 วันทำการ ไม่มีวันสะสม โดยได้รับค่าจ้าง ปีละ 45 วันทำการ โดยได้รับค่าจ้าง ปีละ 15 วันทำการ โดยได้รับค่าจ้าง

7 ที่ หัวข้อ ลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) พกส.
4. ลาอุปสมบท/ประกอบพิธีฮัจย์ 5. ลาคลอดบุตร 6. ลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร 120 วัน โดยไม่ได้รับ ค่าจ้าง ครั้งละ 90 วัน โดยได้รับค่าจ้างตามสิทธิประกันสังคม ไม่ได้กำหนดสิทธิไว้ 120 วัน โดยได้รับค่าจ้าง ลาได้ไม่เกิน 15 วันทำการ ต่อการคลอดบุตร 1 ครั้ง โดยได้รับค่าจ้าง

8 ที่ หัวข้อ ลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) พกส.
7. ลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล 8. ลาไปศึกษา ลาตามระยะเวลาที่ทางราชการทหารกำหนดและต้องมารายงานตัวภายใน 7 วัน โดยได้รับค่าจ้าง ไม่ได้กำหนดสิทธิ ลาตามระยะเวลาที่ทางราชการทหารกำหนด และต้องมารายงานตัวภายใน 7 วัน เว้นแต่มีความจำเป็นขยายเวลาให้ได้แต่ไม่เกิน 15 วัน โดยได้รับค่าจ้าง ครั้งหนึ่งไม่เกิน 2 ปี และเป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุขมาแล้ว 2 ปี โดยได้รับค่าจ้าง

9 ที่ หัวข้อ ลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) พกส.
9 การเบิกค่ารักษาพยาบาล สิทธิประกันสังคม สำหรับทายาทสายตรง ได้แก่ บิดา มารดา คู่สมรส บุตรโดยชอบตามกฎหมาย ใช้สิทธิ 30 Plus 10 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พนักงานกระทรวง- สาธารณสุข - กำหนดให้มีการจัดตั้งกองทุนฯ และสมัครเป็นสมาชิก ได้ตามความสมัครใจ โดยหน่วยบริการจะสมทบเงินให้สมาชิกในอัตราร้อยละ 3

10 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ตารางเปรียบเทียบการจ้างงาน ค่าตอบแทน สวัสดิการต่างๆ ระหว่างลูกจ้างชั่วคราว (เงินบำรุง) กับพนักงานกระทรวงสาธารณสุข.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google