งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1

2 การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
แล้วทำไมถึงต้องมี กบข. 2

3 ทำไมต้องปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ
เพราะไม่สามารถวางแผนเชิงบริหารการเงิน ของประเทศในระยะยาว เพราะไม่เอื้อต่อการวางแผนพัฒนาบุคลากรของรัฐ เพราะต้องการสร้างสถาบันเงินออมของประเทศ 3

4 แนวโน้มอายุเฉลี่ยของประชากร
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 0% 20% 40% 60% 80% 100% พ.ศ 2548 2553 2563 2573 2583 2593 2603 2613 2618 ร้อยละ ของประชากร อายุ มากกว่า 60 ปี อายุ 15-60 ปี อายุ น้อยกว่า 15 ปี 4

5 สถิติค่าใช้จ่ายของภาครัฐ
พันล้านบาท 100 87,633  83,480  73,145  80 70,000  60,000  55,000  49,000  60 เงินเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ 40 20 พ.ศ. 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 ที่มา : พระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ 5

6 1. แบบบังคับรัฐบริหาร (Define Benefit)
ตาข่ายแห่งความมั่นคงของสังคม 1. แบบบังคับรัฐบริหาร (Define Benefit) 2. แบบบังคับ เอกชนบริหาร(Define Contribution) 3. ระบบการออมโดยสมัครใจ(Additional Savings) 6

7 ระบบบำเหน็จบำนาญ (กรมบัญชีกลาง) เงินที่จะได้รับหลังเกษียณ
ตาข่ายแห่งความมั่นคงของสังคม ตาข่ายชั้นที่ 1 แบบบังคับรัฐบริหาร (Define Benefit) ผู้สะสม รัฐ ระบบบำเหน็จบำนาญ (กรมบัญชีกลาง) การเป็นสมาชิก บังคับ เงินที่จะได้รับหลังเกษียณ กำหนดจำนวนเงิน ประกันสังคม ผู้บริหารกองทุน รัฐ 7

8 ตาข่ายแห่งความมั่นคงของสังคม
ตาข่ายชั้นที่ 2 แบบบังคับเอกชนบริหาร (Define Contribution) ผู้สะสม บุคคล และ/หรือ นายจ้าง กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ(กบข.) การเป็นสมาชิก บังคับ เงินที่จะได้รับหลังเกษียณ เงินออมรายบุคคล กองทุนการออมเพื่อชราภาพ(กอช.) (ถ้ามี) ผู้บริหารกองทุน เอกชน 8

9 บุคคล และ/หรือ นายจ้าง เงินที่จะได้รับหลังเกษียณ
ตาข่ายแห่งความมั่นคงของสังคม ตาข่ายชั้นที่ 3 ระบบการออมโดยสมัครใจ (Additional Savings) ผู้สะสม บุคคล และ/หรือ นายจ้าง RMF / ประกันชีวิต การเป็นสมาชิก สมัครใจ กองทุนสำรอง เลี้ยงชีพ RMF / ประกันชีวิต เงินที่จะได้รับหลังเกษียณ เงินออมรายบุคคล ผู้บริหารกองทุน เอกชน 9

10 สมาชิก กบข. สถานะสมาชิก กบข. ระบบแบบออมโดยสมัครใจ
RMF / ประกันชีวิต ระบบแบบบังคับ รัฐบริหาร ระบบบำเหน็จบำนาญ (กรมบัญชีกลาง) บำเหน็จบำนาญ ระบบแบบบังคับเอกชนบริหาร กบข. เงินสะสม เงินสมทบ เงินชดเชย เงินประเดิม ระบบบำเหน็จบำนาญในประเทศ เริ่มขึ้นตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 5 ) โดยพระองค์ทรงมีพระราชดำริว่า "ราชการบ้านเมืองมีมากขึ้นกว่าแต่ก่อน แม้จะเพิ่มเงินเดือนให้มากขึ้นก็ตาม ไม่ใคร่ได้มีโอกาสที่จะสะสมทรัพย์ไว้เลี้ยงตนเมื่อแก่ชราหรือทุพพลภาพ" ด้วยเหตุนี้ จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการตราพระราชบัญญัติเพื่อจ่ายเบี้ยบำนาญขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พุทธศักราช 2444 เรียกว่า พระราชบัญญัติเบี้ยบำนาญรัตนโกสินทร์ศก 120 ซึ่งภายหลังได้มีการปรับปรุงและแก้ไขเพิ่มเติมตลอดมา ระบบบำเหน็จบำนาญเดิมนั้น มีลักษณะของการที่รัฐบาลรับภาระที่จะชำระเงินให้แก่ข้าราชการแต่ละคน ด้วยเงินจำนวนหนึ่งเมื่อเกษียณอายุ (Pay-as-you-go) ตามหลักสูตรการคำนวณที่อิงจากเงินเดือนสุดท้าย และอายุงานเป็นหลัก และจัดตั้งงบประมาณไว้ครั้งละ 1 ปี ตามแต่คำนวณยอดของผู้ครบเกษียณอายุในปีนั้นๆ โดยมิได้มีการกันเงินสำรองล่วงหน้าระยะยาวและไม่ได้กำหนดให้สมาชิกสะสมเงินออมไว้ในยามเกษียณอายุ ซึ่งเป็นช่วงที่ไม่มีรายรับจากการทำงานต่อไป ดังนั้น ในหลายประเทศ แม้ประเทศที่พัฒนาแล้วก็เริ่มมองเห็นแนวโน้มของปัญหา ที่อาจส่งผลกระทบต่อความสามารถของรัฐบาล ในการรับผิดชอบต่อการดูแลผู้เกษียณอายุในระบบดังกล่าว ซึ่งจะใช้ได้ดีในช่วงที่จำนวนผู้เกษียณอายุไม่มากนัก แต่ในภาวะปัจจุบันที่จำนวนข้าราชการเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก และผู้เกษียณอายุก็เพิ่มขึ้นมาก ประกอบกับการแพทย์สมัยใหม่ได้ทำให้คนมีอายุยืนนานขึ้น ในขณะเดียวกันจำนวนประชากรมีแนวโน้มลดลงจากนโยบายรณรงค์การคุมกำเนิดที่ประสบผลสำเร็จ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อรายได้ของรัฐบาล จากการเก็บภาษีอากรในอนาคต เมื่อเปรียบเทียบกับภาระที่จะต้องชำระ ต่อผู้ครบเกษียณอายุ ด้วยเหตุนี้ประเทศต่างๆเหล่านั้น จึงหันมาสนับสนุนให้มีระบบการออมเพื่อเกษียณมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ การใช้เงินเดือนสุดท้ายเป็นหลักในการคำนวณสำหรับระบบบำเหน็จบำนาญเดิมนั้น จะทำให้รัฐไม่สามารถปรับปรุงอัตราเงินเดือนของข้าราชการที่ยังรับราชการอยู่ให้สอดคล้องกับภาวะครองชีพที่แท้จริงได้ และหากมีการปรับปรุงเงินเดือนของข้าราชการ ก็จะส่งผลให้รายจ่ายบำนาญข้าราชการที่ออกจากงานไปแล้ว สูงเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ภาระการจ่ายบำเหน็จบำนาญในอนาคต เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราส่วนรายจ่ายประจำก็เพิ่มสูงขึ้นมาก ดังนั้นระบบบำเหน็จบำนาญเดิมที่ไม่มีการกันเงินจ่ายจริงไว้ตั้งแต่เริ่มต้น และไม่มีการลงทุนได้รับผลประโยชน์จากเงินดังกล่าว ในขณะที่รัฐบาลมีภาระผูกพันต่อข้าราชการสูงในอนาคต จะไม่เป็นไปตามหลักการบริหารการคลังที่ดี และทำให้ขาดหลักประกันแก่ผู้รับบำนาญและข้าราชการปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้ รัฐจึงจำเป็นต้องหาแนวทางที่จะสร้างหลักประกันให้แก่ข้าราชการเมื่อออกจากราชการ และเพื่อให้สามารถวางแผนเชิงบริหารการคลังในระยะยาวได้ จึงเป็นที่มาของการปรับปรุงระบบบำเหน็จบำนาญ เพื่อให้มีการกันเงินสำรองไว้ต่างหากและให้สมาชิกออมทรัพย์ด้วย โดยให้จัดตั้งในรูปแบบของกองทุน ซึ่งนอกจากจะเป็นหลักประกันแก่สมาชิกในยามเกษียณโดยตรงแล้ว ยังเป็นสถาบันเงินออมที่สำคัญโดยเฉพาะเมื่อประเทศไทย มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระดับสูงแต่ขาดแคลนเงินออมภายในประเทศ ซึ่งกองทุนดังกล่าวจะมีบทบาทอย่างยิ่งในการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จนในที่สุดกระทรวงการคลัง จึงได้ตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อศึกษาการจัดตั้งกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ได้มีการกลั่นกรองมาตามลำดับจนในที่สุดได้มีการตราเป็นพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ และประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 27 กันยายน 2539 10

11 สถานภาพกองทุน กองทุนประกันสังคม 9,193,172 621,990.41 กรณีชราภาพ
ประเภทกองทุน จำนวนสมาชิก มูลค่าสินทรัพย์สุทธิ (คน) (ล้านบาท) กองทุนประกันสังคม ,193, ,990.41 กรณีชราภาพ กองทุนบำเหน็จบำนาญ ,178, ,689.91 ข้าราชการ (กบข.) ข้อมูล ณ ไตรมาส 2 ปี 2552 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ,032, ,515.32 11

12 ความแตกต่างระหว่าง กบข. – ธนาคาร - สหกรณ์
วัตถุประสงค์ การดำเนินกิจกรรม ผลตอบแทน 12

13 13


ดาวน์โหลด ppt 1.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google