งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สิทธิของข้าราชการทหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สิทธิของข้าราชการทหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สิทธิของข้าราชการทหาร
เมื่อเกษียณอายุหรือ ลาออกจากราชการ

2 สิทธิของข้าราชการทหาร เมื่อออกจากราชการ
เงินเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ( กบข.) เงินบำเหน็จดำรงชีพ เฉพาะผู้รับบำนาญ เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาบุตร และ การรักษาพยาบาล เงินบำเหน็จตกทอดค้ำประกัน

3 เงินเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ อย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแต่กรณีของแต่ละบุคคล
เกณฑ์การคำนวณเบี้ยหวัด 1. มีเวลาราชการตั้งแต่ 1 ปี แต่ไม่ถึง 15 ปี ได้ 15 ของเงินเดือนเดือนสุดท้าย 50 2. มีเวลาราชการตั้งแต่ 15 ปี แต่ไม่ถึง 25 ปี ได้ 25 ของเงินเดือนเดือนสุดท้าย 3. มีเวลาราชการตั้งแต่ 25 ปี แต่ไม่ถึง 30 ปี ได้ ของเงินเดือนเดือนสุดท้าย 4. มีเวลาราชการตั้งแต่ 30 ปี แต่ไม่ถึง 35 ปี ได้ 35 ของเงินเดือนเดือนสุดท้าย 5. มีเวลาราชการตั้งแต่ 35 ปี แต่ไม่ถึง 40 ปี ได้ 40 ของเงินเดือนเดือนสุดท้าย 6. มีเวลาราชการเกินกว่า 40 ปี ขึ้นไปได้ เวลาราชการ X เงินเดือนเดือนสุดท้าย เบี้ยหวัด ให้จำกัดจำนวนอย่างสูง ไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย

4 หลักเกณฑ์การมีสิทธิรับเบี้ยหวัดของนายทหารสัญญาบัตร
1. มีเวลาราชการไม่น้อยกว่า 1 ปีบริบูรณ์ (รวมวันทวีคูณ) 2. ออกจากราชการเป็นนายทหาร กองหนุน โดยมีอายุกองหนุนตามยศ ดังนี้ การย้ายประเภทจากกองหนุนตามชั้นยศจะย้ายประเภทมาเป็นนอกราชการในวันที่ 1 ของปีถัดจากปีที่มีอายุครบตามเกณฑ์กำหนด ยศ กองหนุนอายุไม่เกิน ร.ต. – ร.อ. 45 ปี พ.ต. – พ.ท. 50 ปี พ.อ. – นายพล 55 ปี

5 วิธีคำนวณบำเหน็จบำนาญ
การคำนวนบำเหน็จบำนาญ แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือผู้ที่เป็นสมาชิก กบข. และผู้ที่ไม่ได้เป็นสมาชิก กบข. ดังนี้ บำเหน็จบำนาญ สมาชิก กบข. บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ (เศษเดือนเศษวันเป็นจุดทศนิยม) บำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน x เวลาราชการ (เศษเดือนเศษวันเป็นจุดทศนิยม) 50 ทั้งนี้ บำนาญ ต้องไม่เกิน 70% ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย

6 บำเหน็จบำนาญ ผู้ที่ไม่ได้เป็นสมาชิก กบข.
บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x จำนวนปีเวลาราชการ (ไม่จำกัดจำนวน) บำนาญ = เงินเดือนเดือนสุดท้าย x จำนวนปีเวลาราชการ 50 (บำนาญอย่างสูงไม่เกินเงินเดือนเดือนสุดท้าย)

7 ผู้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ
ขั้นตอนการขอรับเงินเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ กำลังพล นขต.บก.ทท. สบ.ทหาร โดย กปบ.สบ.ทหาร กรมบัญชีกลาง ผู้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ กปบ.สบ.ทหาร กบน.กง.ทหาร

8 กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
สิทธิประโยชน์ ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด ผู้รับบำเหน็จ เงินสะสม เงินสมทบ เงินชดเชย เงินประเดิม(เป็นข้าราชการก่อน 27 มี.ค.40) เงินผลประโยชน์ตอบแทน

9 ขั้นตอนการขอรับเงิน กบข.
กำลังพล นขต.บก.ทท. สบ.ทหาร โดย กปบ.สบ.ทหาร กองทุนบำเหน็จ บำนาญ ข้าราชการ ( กบข.) โอนเงินเข้าบัญชี ผู้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ พร้อมส่งหนังสือสั่งจ่ายให้ทราบ

10 เงินบำเหน็จดำรงชีพ เงินบำเหน็จดำรงชีพ = 15 เท่าของบำนาญรายเดือน และรับ 2 งวด แต่ไม่เกิน 400,000 บาท ผู้รับบำนาญ อายุ 65 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป รับบำเหน็จดำรงชีพได้ส่วนที่ยังไม่ครบตามสิทธิ แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 400,000 บาท ผู้รับบำนาญอายุต่ำกว่า 65 ปีบริบูรณ์ รับบำเหน็จดำรงชีพได้ ไม่เกิน 200,000 บาท ขอรับบำเหน็จดำรงชีพได้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี

11 การคำนวณเงินบำเหน็จดำรงชีพ ไม่ให้นำ ช.ค.บ. มารวมคำนวณด้วย
ตัวอย่าง บำนาญ 27,000 X 15 เท่า 405,000 บาท 13,000 X 15 เท่า 195,000 บาท การคำนวณเงินบำเหน็จดำรงชีพ ไม่ให้นำ ช.ค.บ. มารวมคำนวณด้วย

12 เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาของบุตร และ ค่ารักษาพยาบาล
เงินสวัสดิการเกี่ยวกับ การศึกษาของบุตร และ ค่ารักษาพยาบาล

13 เงินบำเหน็จตกทอดค้ำประกัน
การกู้เงินกับธนาคารโดยใช้บำเหน็จตกทอดเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน 1. กรอกแบบคำร้องขอหนังสือรับรองสิทธิในบำเหน็จตกทอด เพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ประกันการกู้เงิน 2. หนังสือแสดงเจตนาระบุผู้รับบำเหน็จตกทอด 3. กรอกทะเบียนประวัติ ตนเอง บุคคลในครอบครัว พร้อม หลักฐาน ดังนี้

14 ใช้หลักฐานประกอบ ดังนี้
ตนเอง สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน บิดา มารดา สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน สำเนาใบสำคัญการสมรส /การหย่า (หากเสียชีวิต ใช้สำเนาใบมรณบัตร) คู่สมรส สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน สำเนาใบสำคัญการสมรส /การหย่า (หากเสียชีวิตใช้สำเนาใบมรณบัตร) บุตร สำเนาบัตรประชาชน หรือ สูติบัตร สำเนาทะเบียนบ้าน (กรณีจดทะเบียนรับรองบุตร หรือ บุตรบุญธรรม ให้ใช้สำเนาทะเบียนรับรองบุตร หรือ ทะเบียนการรับบุตรบุญธรรม)

15 เกณฑ์การคำนวณ บำนาญ + ช.ค.บ.(ถ้ามี) X 30 เท่า หัก บำเหน็จดำรงชีพ (ส่วนที่ขอรับไปแล้ว) ตัวอย่าง บำนาญ 30,000 X 30 = 900,000 – 200,000 = 700,000

16 ข้อมูลเพิ่มเติม สอบถาม กบน.กง.ทหาร
โทรศัพท์ โทรทหาร สามารถดูรายละเอียดได้ที่ website ยินดี และเต็มใจ ให้บริการ เพื่อตอบแทนคุณความดีของท่านที่มีต่อ กองบัญชาการกองทัพไทย


ดาวน์โหลด ppt สิทธิของข้าราชการทหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google