ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNonpawit Suprija ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การประยุกต์ใช้การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ เพื่อการควบคุมกิจการภายใต้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
2
1 2 หัวข้อการบรรยาย หลักการ แนวคิด การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
การใช้แบบประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
3
หลักการแนวคิด การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
หลักการแนวคิด การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
4
ความหมายของ HIA ความหมาย : การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Health Impact Assessment) กระบวนการ วิธีการและเครื่องมือ ที่หลากหลาย ที่ใช้เพื่อการคาดการณ์ถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากนโยบาย แผนงานหรือโครงการที่มีต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน และการกระจายของผลกระทบในกลุ่มประชากร และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจะกำหนดถึงกิจกรรมที่เหมาะสมในการจัดการผลกระทบเหล่านั้น (องค์การอนามัยโลก/IAIA 2006)
5
หลักการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
ใช้หลักความเข้าใจสุขภาพองค์รวม/ปัจจัยกำหนดสุขภาพ/ความเชื่อมโยงของการพัฒนาสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ อาศัยการมีส่วนร่วมในการพิจารณาจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทำให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและสนใจ/ตระหนักต่อสุขภาพ ใช้หลักพิจารณาด้วยเหตุและผลเปรียบเทียบจากหลักฐานวิทยาศาสตร์/ข้อมูลเชิงประจักษ์ต่างๆ ใช้หลักการประเมินจากโครงร่าง/ข้อเสนอที่อาจจะเกิดผลกระทบต่อสมาชิกในชุมชนทุกคน หรือเฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง/ให้ความสำคัญต่อกลุ่มอ่อนด้อย ช่วยพิจารณาการพัฒนาแบบยั่งยืนที่อาศัยหลักของผลกระทบระยะสั้น ระยะยาว
6
กรอบแนวคิด : ความเชื่อมโยงของการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
สิ่งคุกคามจากกิจกรรมทั้งก่อนดำเนินการ ระหว่างดำเนินการ ปิดโครงการ โครงการ/กิจการพัฒนา ปัจจัยกำหนดสุขภาพเกิดการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบต่อสุขภาพ ส่งผลต่อ คนงานและประชาชนที่อยู่โดยรอบ ผลกระทบด้านบวก ผลกระทบด้านลบ มาตรการในการส่งเสริม มาตรการในการลดผลกระทบ
7
การนำ HIA ไปใช้ กรณีที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายเป็นการใช้เพื่อให้เกิดการตัดสินใจในการอนุมัติ อนุญาตโครงการ กรณีไปประยุกต์ใช้ในท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นใช้ HIA เป็นเครื่องมือในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดีของประชาชน”
8
การนำ HIA ไปใช้ นโยบาย โครงการ การนำไปใช้ การเคลื่อน HIA
กิจกรรม/กิจการ โครงการ นโยบายสร้างเสริมสุขภาพ นโยบายที่อาจส่งผลกระทบทางลบ นโยบายหรือกิจกรรมระดับชุมชนท้องถิ่น นโยบายสาธารณะและการดำเนินกิจกรรมด้านการวางแผนพัฒนา กิจการตามเงื่อนไขของ พรบ.การสาธารณสุข 2535 - โครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง (11 ประเภทโครงการ) - โครงการหรือกิจการต้องศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (34 ประเภทโครงการ) การนำไปใช้ ประยุกต์ใช้ตาม พรบ.การสาธารณสุข บังคับใช้ตามกฎหมาย พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเคลื่อน HIA หลักเกณฑ์ละวิธีการ ประเมินผลด้านสุขภาพที่เกิดจากนโยบายสาธารณะ ตามพรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2550 (สช) เชื่อมโยงและบังคับตามกฎหมาย (มาตรา 67 วรรคสอง) ไม่บังคับตามกฎหมาย มาตรา 11 ประชาชนสามารถเรียกร้องให้มีการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพได้ ตามพรบ.สุขภาพแห่งชาติ 2550
9
กิจการที่เป็น อันตรายต่อ สุขภาพ
กรอบแนวคิดการประยุกต์ใช้หลักการ HIA ใน พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ (เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมกำกับกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ) เงื่อนไขในการควบคุมกำกับดูแลการประกอบกิจการ คือ 1) การดูแลสุขภาพ หรือ สุขลักษณะของสถานที่ที่ใช้ดำเนินกิจการ และ 2) มาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ สภาวะสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการทั้งในด้านการดูแลรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบของโครงสร้างอาคาร การรักษาสภาพการใช้งานของเครื่องมือ อุปกรณ์ ระบบการระบายอากาศ แสง เสียง ระบบการจัดการสิ่งปฏิกูลมูลฝอย สุขลักษณะของสถานที่ กิจการที่เป็น อันตรายต่อ สุขภาพ ระบบป้องกันอุบัติภัย อัคคีภัย ระบบการป้องกันการปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์อาหาร ระบบการป้องกันตนเองของผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันปัญหาด้านมลพิษที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของคนงาน ชุมชนข้างเคียง และประชาชนทั่วไป มาตรการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ การคมนาคมขนส่ง/การติดตามตรวจสอบ/ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ฯลฯ มาตรการอื่นๆ ระยะดำเนินการของกิจการ (ก่อสร้าง/ดำเนินการ)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.