ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSuree Maleenont ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่ รพ.สต. เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 10 เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยโรคเรื้อรังใน โรงพยาบาล โดยการย้ายผู้ป่วยโรคเรื้อรังจาก รพ.แม่ข่าย ไปสู่ รพ.สต.) ระบบนี้จะช่วยให้ สสจ. ที่ติดตั้งเว็บเซอร์วิส PROVIS-NCD สามารถซิงค์ข้อมูลโรคเรื้อรัง(เบาหวาน, ความดัน) ทั้ง ประวัติการคัดกรองโรคเรื้อรังและ ประวัติการรับบริการของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่อาศัยในเขตรับผิดชอบของหน่วยบริการ รพ.สต. หรือ PCU ของโรงพยาบาลลงมาประมวลผล โดยผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2
3) มีการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคพื้นฐานได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน เช่น EPI, ANC, คัดกรองโรคเรื้อรัง, Papsmear การแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อสนับสนุนในด้านการประเมินความครอบคลุมการได้บริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของประชาชนในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.
3
สปสช. สนย. PROVIS รพ.แม่ข่าย PROVIS รพ.แม่ข่าย ประชากรในพื้นที่
ข้อมูล 21 แฟ้ม สนย. OP package PP package PP package OP package ข้อมูล21แฟ้ม ข้อมูล21แฟ้ม PROVIS PHP เว็บแอพพลิเคชั่น PROVIS รพ.แม่ข่าย PROVIS รพ.แม่ข่าย สสจ.ปข. ประชากรในพื้นที่ ประชากรในพื้นที่ ประชากรในพื้นที่ Jhcis รพ.สต. ประชากรในพื้นที่ Jhcis รพ.สต. Jhcis รพ.สต. Jhcis รพ.สต.
4
แนวทางการดำเนินงานระบบข้อมูลผู้ป่วยนอก
และการส่งเสริมป้องกันโรครายบุคคล (OP/PP Individual) ปีงบประมาณ ๒๕๕๕ รพ.สต. สำรองข้อมูล JHCIS อัพเดทเวอร์ชั่น JHCIS ให้เป็นวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๕ เพื่อรองรับการ Sync ข้อมูลจากฐานจังหวัด ปรับปรุงโครงสร้างทั้งหมด ๑ ครั้ง บันทึกและปรับปรุงข้อมูลพื้นฐาน เช่น ประวัติบุคคล ให้ครบถ้วนถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ด้วยโปรแกรม OP/PP เวอร์ชั่นปัจจุบัน ทำการส่งออกข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ทั้งหมด ให้กับรพ.แม่ข่าย เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลตั้งต้นของเครือข่าย ในครั้งต่อไป ให้ตัดยอดส่งเฉพาะที่มีการเปลี่ยนแปลง ส่งให้รพ.แม่ข่ายสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง จัดทำทะเบียนการส่งข้อมูล ๒๑ แฟ้ม โดยให้ระบุ วัน / เดือน / ปี ที่จัดส่ง, ขนาดของไฟล์, ชื่อผู้จัดส่ง, วิธีส่ง เพื่อใช้ในการตรวจสอบการจัดส่งข้อมูล
5
รพ.แม่ข่าย ตรวจสอบให้ Server ที่เป็นฐานข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ระดับอำเภอ สามารถ online ได้ เมื่อมีการนำเข้าข้อมูลของ รพ.สต. ภายในเครือข่าย เพื่อรองรับการส่งข้อมูลให้ Server จังหวัด นำเข้าข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ของรพ.สต. ทันทีที่มีการรับข้อมูลจากรพ.สต. ตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ที่ทำการนำเข้า Server ระดับอำเภอ จัดทำทะเบียนการส่งข้อมูล ๒๑ แฟ้ม โดยให้ระบุ วัน / เดือน / ปี ที่จัดส่ง, ขนาดของไฟล์, ชื่อผู้จัดส่ง, วิธีส่งของรพ.สต.ในเครือข่าย เพื่อใช้ในการตรวจสอบการจัดส่งข้อมูล
6
อำนาจหน้าที่คณะกรรมการฯ
คณะกรรมการระดับจังหวัดฯ หน้าที่รับผิดชอบ ๑. ศึกษาการจัดเก็บข้อมูลระบบรายงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทำฐานข้อมูลของหน่วยงานบริการ ๒. จัดทำและพัฒนาระบบฐานข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการวางแผน การดำเนินงาน ติดตามผลการดำเนินงานสาธารณสุข รวมทั้งแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของระดับปฏิบัติ ๓. การตรวจสอบ วิเคราะห์คุณภาพข้อมูล และติดตามการจัดทำ/ส่งข้อมูล รายอำเภอ ๔. การออกแบบและนำข้อมูลมาใช้จัดทำรายงาน ในระดับ ตำบล อำเภอ และจังหวัดฯ ๕. การประสานศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศกระทรวงสาธารณสุข ในการพัฒนาระบบรายงานให้ถูกต้องและเพียงพอในการใช้งาน
7
๖. จัดทำแผนพัฒนาศักยภาพ อบรมการใช้งานฐานข้อมูล ๒๑ แฟ้ม ระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล
๗. พัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูลระดับ ตำบล/อำเภอ/จังหวัด เพื่อการใช้ประโยชน์ ๘. นิเทศติดตาม การดำเนินการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับหน่วยบริการ ๙. วิเคราะห์ จัดทำแผนความจำเป็นด้าน วัสดุ ครุภัณฑ์ ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ๑๐.สรุปผลการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานผู้บริหาร
8
คณะกรรมการระดับอำเภอฯ
หน้าที่รับผิดชอบ ๑. รวบรวมข้อมูลปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ของหน่วยบริการทุกแห่ง ๒. จัดทำแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับปัญหาที่พบ และดำเนินการแก้ปัญหาให้บรรลุผลตามเป้าหมาย ๓. วางแผนจัดหา พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ Hard ware , Sofe ware , Net work ของหน่วยบริการ ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.ดำเนินการรวบรวมฐานข้อมูล ๒๑ แฟ้มของหน่วยบริการ นำเข้าฐานข้อมูลอำเภอ (PROVIS)สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง
9
๕.ตรวจสอบคุณภาพข้อมูลให้ ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา อย่างสม่ำเสมอ
๖.นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน และปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ ๗.สรุป รายงาน ผลการพัฒนาระบบสารสนเทศ นำเสนอผู้บริหาร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.