งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่ 3-2/2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่ 3-2/2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่ 3-2/2557
วันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา น. ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย ถ่ายทอดผ่าน Video Conference โดย .. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 1

2 วัตถุประสงค์การประชุม
วาระที่ 1 วัตถุประสงค์การประชุม ติดตามผลการดำเนินงานตามมติที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ครั้งที่ 2-1/2557 เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2557 สรุปภาพรวมตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน พิจารณาการดำเนินงาน การรายงาน หลักฐานอ้างอิง แนวทางการตรวจประเมิน ความเหมาะสมของคณะกรรมการ คณะทำงาน 2

3 วาระที่ 2 เอกสารประกอบการประชุม หมายเลข 2 และ 3
รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการ กพร.กรมอนามัย ครั้งที่ 2-1/2557 เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2557 มติที่ประชุม ได้ส่งให้คณะกรรมการ เมื่อ 14 มกราคม 2557 รายงานการประชุม ได้ส่งให้คณะกรรมการ เมื่อ 23 มกราคม 2557 เอกสารประกอบการประชุม หมายเลข 2 และ 3

4 การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (มอบ กองแผนงาน และกองกองคลัง)
วาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (มอบ กองแผนงาน และกองกองคลัง) 1  ให้ดำเนินการจัดทำระบบการติดตามตรวจสอบและ มาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ  สื่อสารระบบและมาตรการฯ ให้หัวหน้าหน่วยงานทราบ

5 การประหยัดพลังงาน (มอบ สำนักงานเลขานุการกรม)
2 การประหยัดพลังงาน (มอบ สำนักงานเลขานุการกรม) ให้สื่อสารให้หน่วยงานส่วนกลางที่จัดประชุม เป็นแกนหลักในการจัดรถรับส่งผู้เข้าร่วมประชุมจากหน่วยงานต่างๆ 3 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (มอบ กองแผนงาน) ให้ทดสอบระบบป้องกันภาวะฉุกเฉินที่ศูนย์อนามัยที่ 1 เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินจากการชุมนุมทางการเมืองซึ่งจะเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 13 มกราคม 2557 เป็นต้นไป

6 การสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบ online
(มอบ กพร. และ กอง จ.) 4 ให้ดำเนินการสำรวจข้อมูลเพื่อหาข้อเท็จจริง/ข้อมูลเกี่ยวกับผลการสำรวจการพัฒนาองค์การผ่านระบบ online สำหรับข้อคำถามที่มีค่า GAP สูงที่สุด 6 ข้อ เพื่อประกอบการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ การดำเนินงานตามมติ 1. กพร. และ กอง จ. ได้ประชุมร่วมกัน เพื่อกำหนดประเด็นคำถามเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อการพัฒนาองค์กรกรมอนามัย 2. จัดเวทีให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นฯ ของข้าราชการ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทั่วไป กลุ่มวิชาการระดับผู้ปฏิบัติ และ กลุ่มวิชาการระดับหัวหน้ากลุ่มงาน ในวันที่ 24 ก.พ.2557

7 ปัจจัยที่ทำให้ทำงานอย่างมีความสุข
4 ประเด็นคำถาม 1. สภาพแวดล้อมในการทำงาน ปัจจัยที่ทำให้ทำงานอย่างมีความสุข สิ่งที่ต้องการให้ปรับปรุง/พัฒนา สภาพแวดล้อมในการทำงาน 2. การเลื่อนระดับ และการโอน ย้าย ความเชื่อมั่นต่อหลักเกณฑ์ วิธีการ และ ขั้นตอน การเลื่อนระดับ การโอน/ย้าย สิ่งที่ต้องการให้ปรับปรุงแก้ไข วิธีการ และ ขั้นตอนการเลื่อนระดับ และการโอน/ย้าย 3. ข้อมูลข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (กรม/หน่วยงาน) ช่องทางการได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร การเข้าถึงและการค้นหาข้อมูลข่าวสาร สิ่งที่ต้องการให้มีการปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลข่าวสารและวิธีการสื่อสาร 4. ข้อมูลข่าวสารที่ใช้ในการปฏิบัติงาน (กรม/หน่วยงาน) ช่องทางการได้รับรู้ข้อมูลข่าวสาร การเข้าถึงและการค้นหาข้อมูลข่าวสาร สิ่งที่ต้องการให้มีการปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลข่าวสารและวิธีการสื่อสาร 5. การปรับตัวได้ไวต่อการเปลี่ยนแปลง ปัญหาหรือผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน หรือการบรรลุภารกิจของหน่วยงานจาก การเปลี่ยนแปลง ข้อเสนอแนะเพื่อให้บุคลากรของกรม อนามัยสามารถปรับตัวได้ไวต่อการ เปลี่ยนแปลง 6. การพัฒนาองค์กร บุคลากรกรมอนามัยมีความรักความผูกพัน และความต้องการอยู่กับกรมอนามัย ปัจจัยที่ช่วยเสริมสร้างให้บุคลากรกรม อนามัยมีความรัก ความผูกพันต่อองค์กร และพร้อมที่จะร่วมพัฒนางานให้บรรลุผลตาม เป้าหมาย

8 5 ข้อคิดเห็นต่อตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของกรมอนามัยและการกระจายค่าเป้าหมาย (มอบ ศอ.1-12) ให้หน่วยงาน ส่งข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ต่อตัวชี้วัดและการกระจายค่าเป้าหมาย ให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร หน่วยงาน สามารถต่อรองค่าเป้าหมายได้ โดยมีข้อมูลเหตุผลประกอบ ผลการดำเนินงานตามมติ ชื่อตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ร้อยละศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ สำนักส่งเสริมสุขภาพ ศอ.6 กำหนดเป้าหมายสูงเกินไป เสนอกำหนดร้อยละ 20เนื่องจาก 1. เกณฑ์ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ เพิ่งส่งให้พื้นที่กลาง ปี 2556 2. โปรแกรมประเมินศูนย์เด็กเล็กคุณภาพยังไม่สมบูรณ์ 3. พื้นที่ส่วนมากยังไม่ได้ประเมินตนเองตามเกณฑ์ 4. ข้อมูลที่ได้ส่วนใหญ่ มาจากรายงานผู้ตรวจราชการ 5. เดิมกำหนดเป้าหมายเฉพาะศูนย์เด็กเล็กสังกัด อปท แต่ในปี 2557 กำหนดเป้าหมายจากทุกสังกัด 6. กระบวนการให้เกิดผลลัพธ์ มีความเป็นไปได้น้อย เนื่องจากศูนย์เด็กเล็กยังขาดการดูแลอย่างจริงจังและ สม่ำเสมอจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

9 หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
ชื่อตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ร้อยละของ รพ.สายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ระดับทอง สำนักส่งเสริมสุขภาพ ศอ.6 กำหนดเป้าหมายสูงไป (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95) จึงไม่ สามารถดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายได้ บทบาทของศูนย์ฯ มีหน้าที่ในการ Reaccredit ซึ่งถ้า จังหวัดไม่ร้องขอ ศูนย์ฯ ก็ไม่ได้ดำเนินการประเมิน ส่วนกลางควรมีแนวทางหรือให้ความช่วยเหลือศูนย์ฯ ที่ ยังไม่บรรลุเป้าหมายในการผลักดันให้พื้นที่ดำเนินการ ตามเป้าหมายด้วย

10 หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
ชื่อตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ร้อยละของ รพ.สังกัด สป. ผ่าน เกณฑ์ YFHS สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ศอ.10 ขอปรับเกณฑ์การให้คะแนน คือ เป้าหมาย ร้อยละ 35 ได้ 100 คะแนน เหตุผล 1. ความไม่พร้อมในการดำเนินงานของโรงพยาบาลในบางพื้นที่ เช่น ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ 2. ความยากในการดำเนินงานในองค์ประกอบ ที่ 2 ภาคีเครือข่าย ในบางพื้นที่ โดยเฉพาะในเขตเมือง เกณฑ์การให้คะแนน 20 40 60 80 100 เดิม 25 30 35 ขอปรับเป็น 15

11 หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
ชื่อตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ ร้อยละ ของสถาน บริการ สธ. สังกัด สป. มีการ ดำเนินงานคลินิก DPAC กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ศอ. 3 และ ศอ.10 การตั้งค่าเป้าหมาย พิจารณาข้อมูลผลการดำเนินงานที่ผ่านมา เพื่อใช้เป็น ฐานข้อมูล พิจารณาความเป็นไปได้ ความยากง่ายของเกณฑ์ ประเมิน ควรเน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ ข้อมูลพื้นฐาน ศอ.3 ผลงานปี 2556 รพ.สต. ร้อยละ 9.6 (70 แห่ง) รพศ. รพท. รพช. ร้อยละ 23.5 (16 แห่ง) ศอ.10 ผลงานปี 2556 รพ.สต. ร้อยละ 18 (194 แห่ง)

12 หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
ชื่อตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ จำนวนรพ.ที่ผ่านเกณฑ์HPHNQC สำนักส่งเสริมสุขภาพ ศอ.6 ไม่ควรกำหนดเป็นตัวชี้วัด เนื่องจาก 1.ไม่ใช่ตัวชี้วัดระดับกระทรวงฯ พื้นที่ไม่ให้ความสนใจเท่าที่ควร 2.การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และการสร้างความเข้าใจเกณฑ์ฯ แก่ รพศ. รพท. รพช. ในปีนี้และที่ผ่านมา ยังไม่เพียงพอ 3.หากจะดำเนินการ ควรผลักดันให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ของกรมอนามัยดำเนินการทุกแห่ง และให้ผ่านมาตรฐานตาม เกณฑ์ให้ครบก่อน จำนวนบุคลากรและประชาชนในถิ่นทุรกันดารได้รับการพัฒนาด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ค่าเป้าหมายที่กำหนดให้ 200 คน ศูนย์ฯ ไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากปี 2557 ไม่มีงบประมาณดำเนินงานในเรื่องนี้

13 หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ
ชื่อตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วยงาน-ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ จำนวน จว.ที่มีระบบและกลไกการคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม หน่วยงานสายสิ่งแวดล้อม 5 หน่วยงาน ศูนย์อนามัยที่ 10 ควรปรับเป้าหมายให้น้อยลง เนื่องจาก 1.เป็นตัวชี้วัดใหม่ ต้องสร้างความเข้าใจกับพื้นที่ และขึ้นกับการให้ความสำคัญผู้บริหาร อปท. 2.ศอ.10 มีเป้าหมายครบทุกจังหวัด ซึ่งมากกว่าทุกศูนย์ฯ 3.เรื่องการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพเป็นเรื่องที่มีความยาก โดยเฉพาะกับเรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สรุปข้อคิดเห็น กำหนดเป้าหมายสูงเกินไป การกำหนดค่าเป้าหมายควรพิจารณาจากข้อมูลผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ความยากง่าย ความเป็นไปได้ ด้วย ควรเน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ ตัวชี้วัดบางเรื่อง ไม่ควรกำหนดเป็นตัวชี้วัด (HPHNQC) โครงการ กพด. ไม่มีงบดำเนินงาน จังหวัดที่มีกลไกการคุ้มครองสิทธิ ศอ.10มีเป้าหมายครบทุกจังหวัด

14 การกำหนดเจ้าภาพรับผิดชอบตัวชี้วัด
ตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรมอนามัย (8+3+21) (มอบ กองแผนงาน และ กพร.) 6 ให้วิเคราะห์ตัวชี้วัด และกำหนดเจ้าภาพรับผิดชอบในการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย

15 ตัวชี้วัดที่ 1 : การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรมอนามัย
หน่วยงานสายส่งเสริมสุขภาพ 7. สำนัก ส. 1) ระบบบริการ ANC คุณภาพ 2) ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 8. สำนัก ท. 1) เด็กปฐมวัยมีปัญหาฟันน้ำนมผุ 2) โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม ฯ 3) ผู้สูงอายุได้รับฟันเทียมพระราชทาน 9. สำนัก ภ. 1) โรงเรียนมีการจัดการอาหารที่ดีเพื่อลดภาวะอ้วน 2) องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ 3) องค์กรต้นแบบไร้พุง 10. สำนัก อพ. สถานบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน  11. กอง อ. คลินิกไร้พุง (DPAC) 12. ศพส. เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 13. กทป. 1) ผลงานวิจัยที่ได้รับการนำเสนอในเวทีวิชาการ 2) ความพึงพอใจของภาคีเครือข่าย

16 ตัวชี้วัดที่ 1 : การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์กระทรวง/กรมอนามัย
หน่วยงานสายอนามัยสิ่งแวดล้อม 14. สำนัก ว. 1) มูลฝอยติดเชื้อได้รับการจัดการอย่างถูกสุขลักษณะ 2) ส้วมสาธารณะผ่านเกณฑ์ (HAS) 15.สำนัก สอ. 1) การพัฒนาตลาดสะอาด อาหารปลอดภัย 2) Clean Food Good Taste Plus 3) สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วย และระบบการจัดการน้ำบริโภคผ่านเกณฑ์ 16. กอง ป. จังหวัดที่มีระบบและกลไกการคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 17. ศกม. 1) จังหวัดที่มีคณะอนุกรรมการสาธารณสุขดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ 18. ศูนย์ Lab 1) การตรวจวิเคราะห์และทดสอบคุณภาพน้ำ 2) ความพึงพอใจของผู้รับบริการ

17 งานตามยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข/กรมอนามัย ที่เป็นตัวชี้วัดของหน่วยงาน
1.พัฒนาสุขภาพ ตามกลุ่มวัย (10) 2.พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ (26) 3.พัฒนาระบบบริหารจัดการ (8) เป้าหมายกระทรวง อัตราส่วนมารดาตาย พัฒนาการสมวัย เด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน อัตราคลอดในมารดา 15-19ปี 5. ANC คุณภาพ 6. WCC คุณภาพ 7. ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ 8. รพ.สต./ศสม.ที่ให้บริการ สุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น โครงการพระราชดำริฯ 1. ฟันเทียมพระราชทาน 2. โรงพยาบาลสายใยรัก 3. ตำบลนมแม่ เด็กปฐมวัย และสตรี 4. ฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง 5. พัฒนาการเด็กตามวัย 6. ฟันน้ำนมผุในเด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน 7. ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 8. เด็กวัยเรียนสูงดี รูปร่างสมส่วน 9. โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม เด็กวัยรุ่น/นักศึกษา 10. YFHS 11. อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ 12. ตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น วัยทำงาน 13. คลินิก DPAC 14. รพ.ส่งเสริมสุขภาพ 15. องค์กรต้นแบบไร้พุง ผู้สูงอายุและผู้พิการ 16. พัฒนาทักษะกายใจ 17. Long term Care 18. โรคในช่องปากผู้สูงอายุ งานอนามัยสิ่งแวดล้อม 19. จัดการมูลฝอยติดเชื้อ 20. รพ.สธ. ได้มาตรฐาน ด้าน Env.H 21. ส้วมสาธารณะ HAS 22. ตลาดนัดน่าซื้อต้นแบบ 23. อปท. มีคุณภาพ ระบบบริการ Env.H 24. จังหวัดที่มีกลไก คุ้มครองสิทธิ ด้าน Env.H เป้าหมายกรมอนามัย

18 วาระที่ 4 เรื่องเพื่อทราบ

19 สรุปตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน ปี 2557
วาระที่ 4 สรุปตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน ปี 2557 การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (หน่วยงานละไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด) การพัฒนาองค์การ (500 คะแนน) 5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 6. การจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7. การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 8. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย 9. การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย การประเมินประสิทธิภาพ (300 คะแนน) 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน 4. การป้องกันและปราบปราม การทุจริต

20 อำนวยการ วิชาการ ศูนย์อนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน 1. สำนัก ส. 2 2. สำนัก ท. 3 3. สำนัก ภ. 4. สำนัก อพ. 1 5. กอง อ. 6 ศพส. 7. กทป. อำนวยการ วิชาการ 1. กตส. 1 2. สลก. 3. กอง ค. 4. กอง จ. 5. กอง ผ. 6. กพร. 2 1. สำนัก ว. 2 2.สำนัก สอ. 3 3. กอง ป. 1 4. ศกม. 5. Lab ศูนย์อนามัย ศอ.1 ศอ.2 ศอ.3 ศอ.4 ศอ.5 ศอ.6 ศอ.7 ศอ.8 ศอ.9 ศอ.10 ศอ.11 ศอ.12 1 2 3

21 การวิเคราะห์ประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงานตัวชี้วัดที่ 1
หน่วยงานสายอำนวยการ รายงานผลการตรวจสอบ ที่แสดงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน และข้อเสนอแนะให้แก่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน 1. กตส. การตรวจสอบภายใน 2. สลก. การดำเนินงานสารบรรณ ตามระเบียบสำนักนายก 3. กอง จ. การประเมินผลการปฏิบัติ ราชการและเลื่อนเงินเดือน 4. กอง ค. การจัดทำรายงาน การเงินของกรม 5. กอง ผ. การพัฒนาระบบสารสนเทศ 6. กพร. การประเมินการพัฒนาระบบ ราชการของหน่วยงาน ความพึงพอใจต่อการ สนับสนุนของ กพร. ทุกหน่วยงานปฏิบัติงานสารบรรณถูกต้องตามระเบียบสำนักนายกฯ ได้แก่ การรับ-ส่ง การจัดเก็บ การทำลายหนังสือราชการ ดำเนินการเรื่องการประเมินผลการปฏิบัติราชการและเลื่อนเงินเดือนที่มีประสิทธิภาพ รายงานการเงิน ที่ผู้บริหารใช้ประโยชน์ เพื่อวางแผน และบริหารจัดการ ระบบสารสนเทศของกรมที่มีประสิทธิภาพ สถานการณ์การพัฒนาระบบราชการของหน่วยงาน

22 ตัวชี้วัดที่ 1 : การสนับสนุนเขตสุขภาพของศูนย์อนามัยที่ 1-12
กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ศอ.1 มีแผน ดำเนินงานตามแผน นิเทศติดตาม วิเคราะห์ รายงานผล และจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ศอ.2 จัดระบบข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ ปัญหา มีโครงการที่ผลักดันในพื้นที่ ศอ.3 ประสาน ทำแผนยุทธศาสตร์เขต ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน จำนวนองค์ความรู้/นวัตกรรม ศอ.4 ทำแผนยุทธศาสตร์เขต ประเมินปัญหา วางระบบงาน M&E ร่วมแก้ปัญหา ติดตามผล ศอ.5 สรุป วิเคราะห์ข้อมูล จัดระบบข้อมูล ความพึงพอใจของทีมเขตสุขภาพ จำนวนนวัตกรรม/ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/วิชาการ ศอ.6 มีกลไก ร่วมวางแผน สนับสนุน จัดทำข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ/นโยบาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ งานบริการสาธิตส่งเสริมสุขภาพในศูนย์อนามัย)

23 กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ ศอ.7
การมีส่วนร่วม มีแผนสนับสนุน และความสำเร็จตามแผน ศอ.8 ประสาน ทำแผนยุทธศาสตร์เขต ติดตาม สนับสนุนการดำเนินงาน จำนวนองค์ความรู้/นวัตกรรม ศอ.9 ความพึงพอใจของทีมเขตสุขภาพ จำนวนนวัตกรรม ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/วิชาการ ศอ.10 รายงานสถานการณ์ประจำปี จำนวนการรายงานสถานการณ์ตัวชี้วัด โครงการที่เป็นนโยบายสำคัญของเขต ข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ/นโยบาย ความพึงพอใจของผู้บริหารเขต ศอ.11 จัดการข้อมูล :-จัดเก็บ วิเคราะห์ บทสรุปผู้บริหาร ความพึงพอใจของทีมบริหาร ศอ.12 รายงานสถานการณ์/การศึกษา จำนวนแผนงาน โครงการ สื่อสนับสนุน จำนวนตัวชี้วัดกรมอนามัยผ่านเกณฑ์

24 การวิเคราะห์ประโยชน์ที่ได้จากการดำเนินงานตัวชี้วัดที่ 1
การเสนอตัวชี้วัด มี 2 ลักษณะ กระบวนการปฏิบัติงาน ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ที่ได้ Best practice model กลไก ระบบข้อมูล กระบวนการทำงาน กลไก ระบบงาน ระบบข้อมูลเพื่อสนับสนุนเขตสุขภาพ แผนสนับสนุนเขตสุขภาพ แผนยุทธศาสตร์สุขภาพเขตสุขภาพ รายงานผลการดำเนินงาน/สนับสนุนเขตสุขภาพ รายงานการติดตามประเมินผล โครงการที่ศูนย์ผลักดันให้เกิดในพื้นที่ รายงานสถานการณ์สุขภาพ องค์ความรู้ นวัตกรรม สรุปบทเรียน ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เชิงวิชาการ ต่อการแก้ไข ปัญหาระดับเขต ผลการสำรวจความพึงพอใจ สถานการณ์สุขภาพ องค์ความรู้ นวัตกรรม บทเรียนตามพื้นที่ ข้อเสนอแนะเชิง นโยบาย/วิชาการ

25 เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด มิติประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ตัวชี้วัด น้ำหนัก อัตราการเบิกจ่าย 20 40 60 80 100 1. การเบิกจ่ายงบภาพรวม - ไตรมาสที่ 2 0.30 44 45 46 47 48 - ไตรมาสที่ 3 0.15 68 69 70 71 72 - ไตรมาสที่ 4 93 94 95 96 97 2. การเบิกจ่ายงบลงทุน 0.40 74 76 78 82 รวม 1.0

26 ตัวชี้วัดที่ 3 : ดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
1. มีการรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน 2. มีรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้พลังงาน 3. มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้จริงครบถ้วน 4. ผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ตัวชี้วัดที่ 4 : ดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 1. จัดทำแผนปฏิบัติการการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และวินัย 2. ดำเนินการตามแผนได้แล้วเสร็จ และตัวชี้วัดในแผนมีผลสำเร็จตามเป้าหมายทุกตัวชี้วัด 3. รายงานผลตามแผนและการพัฒนาบุคลากรด้านการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมฯลฯ ครบทั้ง 3 งวดตามเวลาที่กำหนด 4. ตอบสนองต่อข้อร้องเรียน และส่งรายงานภายในเวลาที่กำหนด 5. การมีส่วนร่วมของหน่วยงานในกิจกรรมเกี่ยวข้อง

27 เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัด มิติพัฒนาองค์การ
ตัวชี้วัดที่ 5 การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 1.มอบหมายกลุ่มงาน/คณะทำงาน/บุคคลรับผิดชอบ 2. สื่อสารให้กับบุคลากรในหน่วยงานทราบ 3. ติดตามและรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานรอบ 9 12 เดือน 4. สรุปบทเรียน ประกอบด้วย ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาต่อไป ตัวชี้วัดที่ 6 ความสำเร็จของการจัดการข้อมูลสินค้า/บริการ และ C/SH 1. การจัดทำฐานข้อมูลสินค้า/บริการ C/SH ของหน่วยงาน 2. การจัดทำมาตรฐานการให้บริการ (SOP) งานภารกิจหลัก 3. การสร้างการมีส่วนร่วมและกิจกรรมสัมพันธ์กับ (C/SH) ของหน่วยงาน 4. การประเมินความพึงพอใจ การจัดการข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะ และคำชมเชยของ C/SH ตัวชี้วัดที่ 7 การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 1. รายงานแผน/ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 2 ภายใน 5 เม.ย. 57 2. รายงานแผน/ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 3 ภายใน 5 ก.ค. 57 3. รายงานแผน/ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 4 ภายใน 5 ต.ค. 57 4. รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดกรมอนามัย รอบ เดือน ภายใน 10 เม.ย. 10 ก.ค. 10 ต.ค.57

28 ตัวชี้วัดที่ 8 การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย
1. การจัดทำแผนพัฒนาความรู้/ทักษะ/สมรรถนะรายบุคคล (IDP) 2. ข้าราชการได้รับการพัฒนาตามแผน 3. ข้าราชการได้รับการพัฒนา อย่างน้อย 10 วันต่อคนต่อปี 4. ส่งรายงาน แผนและผลพัฒนา ตรงตามเวลาที่กำหนด ตัวชี้วัดที่ 9 การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า ได้แก่ 1. การศึกษาวิจัย 2. การพัฒนามาตรฐาน/เกณฑ์/คู่มือ/ หลักสูตร 3. การสร้างกระแสและรณรงค์ เผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยี 4. การสร้างการมีส่วนร่วมภาคี เครือข่าย 5. การรับรองมาตรฐานการบริการ 6. การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) 7. การพัฒนาระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ

29 วาระที่ 5 เรื่องเพื่อพิจารณา

30 ช่องทาง/เวลาส่งรายงาน SAR ตามคำรับรองฯ
วาระ 5.1 ช่องทาง/เวลาส่งรายงาน SAR ตามคำรับรองฯ 31 มี.ค. 30 มิ.ย. 30 ก.ย. การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน ระบบ DOC กรมอนามัย 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ ระบบ GFMIS 3. การประหยัดพลังงาน ระบบ e-report.energy 4. การป้องกัน/ปราบปรามการทุจริต 25 มี.ค. 25 มิ.ย. 25 ก.ย. และหนังสือ ส่งกองการเจ้าหน้าที่ 5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล เรื่องร้องเรียนจริยธรรม ขรก. ภายใน10วัน 6. การจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความพึงพอใจ/เรื่องร้องเรียน /หนังสือส่ง สลก. วันที่ 25 ทุกเดือน 7. การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 8. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย และหนังสือ ส่งกองการเจ้าหน้าที่ 3 มี.ค. 9 เม.ย. 2 ก.ค. 2 ต.ค. 9. การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่า 30

31 การตรวจประเมินตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ
วาระ 5.2 การตรวจประเมินตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (หน่วยงานละไม่เกิน 3 ตัวชี้วัด) การพัฒนาองค์การ (500 คะแนน) 5. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 6. การจัดการข้อมูลสินค้าและบริการ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7. การรายงานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย 8. การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมอนามัย 9. การดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการที่สร้างคุณค่าของกรมอนามัย หน่วยงานเจ้าภาพ ประเมินผลจากรายงาน ประเมินตนเอง (SAR) และหลักฐานที่ส่ง ตามระบบรายงาน การประเมินประสิทธิภาพ (300 คะแนน) 2. การเบิกจ่ายงบประมาณ 3. การประหยัดพลังงาน 4. การป้องกันและปราบปราม การทุจริต 31

32 การตรวจประเมินตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ
การประเมินประสิทธิผล (300 คะแนน) การบรรลุเป้าหมายตาม ยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (30หน่วยงาน) วิธีการ ทีมเลขานุการจาก กพร.รวบรวม ตรวจสอบหลักฐานอ้างอิง ส่งให้กรรมการ กพร.จัดเวทีนำเสนอผลงานตามตัวชี้วัด ให้หน่วยงานนำเสนอ นาที กรรมการพิจารณาให้คะแนน ระยะเวลา 2 วัน เดือนตุลาคม 2557 คณะกรรมการประเมินผล ตัวชี้วัดการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์หรือภารกิจหลักของหน่วยงาน คณะกรรมการ 10 คน :- รองอธิบดี (นพ.สุธา) ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน ผู้แทนสำนักวิชาการ 5 คน ผู้แทนกองแผนงาน 1 คน ทีมเลขานุการ จาก กพร. ผลที่คาดว่าจะได้รับ หน่วยงานเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เห็นภาพการพัฒนาระบบราชการร่วมกัน สามารถนำไปกำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสมและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรในปีต่อไป 32

33 (ร่าง) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย
วาระ 5.3 (ร่าง) คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย (เอกสารหมายเลข 4 ) แก้ไขตำแหน่งในคำสั่ง 1. นายพิษณุ แสนประเสริฐ ผู้อำนวยการสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ผู้อำนวยการสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติหน้าที่รองอธิบดีกรมอนามัย 2. แพทย์หญิงแสงโสม สีนะวัฒน์ ผู้อำนวยการสำนักที่ปรึกษา นักวิชาการสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ (ด้านโภชนาการ) เพิ่มกรรมการ 1. นางปริยะดา โชควิญญู นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติราชการแทน ผู้อำนวยการสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. ผู้อำนวยการสำนักสร้างและจัดการความรู้

34 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
วาระ 5.3 คำสั่งกรมอนามัย ที่ ..../2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (เอกสารหมายเลข 5 ) คณทำงานประสานและสนับสนุน การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ คณทำงาน PMQA หมวด 2-6 บทบาทหน้าที่ บทบาทหน้าที่ 1. ทบทวนผลการดำเนินงาน เทียบกับเกณฑ์ 2. ทำแผนพัฒนาองค์การ และกำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3. กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผลระดับหน่วยงาน 4. ขับเคลื่อนการดำเนินงาน 5. จัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย 1.กำหนดแผนสนับสนุนตามนโยบายคณะกรรมการ กพร.กรมอนามัย 2. ประสานการดำเนินงานระหว่างหมวด 3. สื่อสารนโยบาย ถ่ายทอดองค์ความรู้ 4. ประสานงาน ติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงาน

35 วาระที่ 6 เรื่องอื่นๆ


ดาวน์โหลด ppt การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมอนามัย ครั้งที่ 3-2/2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google