งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดที่7 ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน โทรศัพท์ : 2. นายธวัชชัย บุญเกิด นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ : ผู้ประสานงาน : 1. นางสาวชัญญา อนุเคราะห์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ โทรศัพท์ : หน่วยงาน : กลุ่มพัฒนาระบบข้อมูล กองแผนงาน กรมอนามัย

2 ผู้รายงาน กลุ่มที่ 1 หน่วยงานในส่วนกลาง ศูนย์ห้องปฏิบัติการ ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง และกลุ่มพัฒนาความ ร่วมมือทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ กลุ่มที่ 2 ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12

3 กลุ่มที่ 1 หน่วยงานในส่วนกลาง ศูนย์ห้องปฏิบัติการ ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง และกลุ่มพัฒนาความร่วมมือ ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ รายงานแผนงาน โครงการ ผลการดำเนินงาน และผลการ ใช้จ่ายงบประมาณ ผ่านระบบศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงาน กรมอนามัย (DOC) ให้ครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด

4 และกลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ
เกณฑ์การให้คะแนน : กลุ่มที่ 1 หน่วยงานในส่วนกลาง ศูนย์ห้องปฏิบัติการ ศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูง และกลุ่มพัฒนาความร่วมมือทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ที่ ประเด็นการประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ 1 รายงานแผนปรับปรุง/ ผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 2 ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ภายในวันที่ 5 เมษายน 2557 3.1 แผนปรับปรุง/ ผลการดำเนินงาน 20 3.2 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 15 2 รายงานแผนปรับปรุง/ ผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 3 ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2557 4.1 แผนปรับปรุง/ ผลการดำเนินงาน 4.2 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 3 รายงานผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 4 ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ภายในวันที่ 5 ตุลาคม 2557 5.1 ผลการดำเนินงาน 5.2 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ รวม 100 หมายเหตุ การส่งข้อมูลล้าช้ากว่าที่กำหนดจะหักคะแนนร้อยละ 10 ต่อวัน ของคะแนนเต็ม

5 กลุ่มที่ 2 ศูนย์อนามัย ที่ 1 – 12
รายงานแผนงาน โครงการ ผลการดำเนินงาน ผลการใช้จ่าย งบประมาณ และผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย ปี ผ่านระบบศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงาน กรมอนามัย (DOC) ให้ครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด

6 เกณฑ์การให้คะแนน : กลุ่มที่ 2 ศูนย์อนามัยที่ 1 – 12
ประเด็นการประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ 1 รายงานแผนปรับปรุง/ ผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 2 ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ภายในวันที่ 5 เมษายน 2557 3.1 แผนปรับปรุง/ ผลการดำเนินงาน 8 3.2 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 6 2 รายงานแผนปรับปรุง/ ผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 3 ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2557 4.1 แผนปรับปรุง/ ผลการดำเนินงาน 4.2 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ 3 รายงานผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 4 ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ภายในวันที่ 5 ตุลาคม 2557 5.1 ผลการดำเนินงาน 5.2 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ข้อมูลตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดกรมอนามัย ดังนี้ 6.1 รอบ 6 เดือน ภายในวันที่ 10 เมษายน 2557 20 6.2 รอบ 9 เดือน ภายในวันที่ 10 กรกฎาคม 2557 6.2 รอบ 12 เดือน ภายในวันที่ 10 ตุลาคม 2557 รวม 100 หมายเหตุ การส่งข้อมูลล้าช้ากว่าที่กำหนดจะหักคะแนนร้อยละ 10 ต่อวัน ของคะแนนเต็ม

7 รายการข้อมูลของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
แบบจัดเก็บผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ศูนย์อนามัย KPI_CODE รายการข้อมูลของตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จังหวัด... รวม กลุ่มเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) และสตรี 1 อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 15 ต่อการเกิด มีชีพ 100,000 คน จำนวนมารดาตายระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอด 6 สัปดาห์ และ สาเหตุการตาย จำนวนการเกิดมีชีพในช่วงเวลาเดียวกัน 2 หญิงตั้งครรภ์ได้รับฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกในสถานบริการสาธารณสุขอายุครรภ์ ≤ 12 สัปดาห์ จำนวนของหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกในสถานบริการสาธารณสุข 3 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการประเมินไม่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ที่ฝากครรภ์คุณภาพ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (นับที่ห้องคลอด)ในปี 2557 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด ที่มาฝากครรภ์ที่สถานบริการนั้นๆ(นับที่ห้องคลอด)ในปี 2557 4 หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 100 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการ 5 หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวนมารดาหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ในเวลาที่กำหนด จำนวนมารดาหลังคลอด 6 สัปดาห์ในเวลาเดียวกัน 6 หญิงหลังคลอด เดือนที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน จำนวนหญิงหลังคลอด 0-6 เดือนที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน จำนวนหญิงหลังคลอด 0-6 เดือนที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ทั้งหมดที่มารับบริการ 7 เด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนแรก มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 จำนวนทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน ที่มารับบริการ WCC อย่างเดียวภายใน 24 ชั่วโมงในช่วงเวลาที่กำหนด (ครั้งที่ 1 มีนาคม ครั้งที่ 2 กันยายน) จำนวนทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนที่มารับบริการ WCC ในช่วงเวลาเดียวกัน 8 ระบบบริการ ANC คุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 จำนวนโรงพยาบาลทั่วประเทศตั้งแต่ระดับ รพช.ขึ้นไป ที่ให้บริการตามมาตรฐาน ANC คุณภาพในปี 2557 จำนวนโรงพยาบาลทั่วประเทศตั้งแต่ระดับ รพช.ขึ้นไปทั้งหมด

8 รายการข้อมูลของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
แบบจัดเก็บผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ศูนย์อนามัย KPI_CODE รายการข้อมูลของตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จังหวัด... รวม กลุ่มเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) และสตรี 9 โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ระดับทอง ร้อยละ 95 จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านการประเมินระดับทองทั้งหมด (สะสม+ ใหม่ + ผ่านประเมินซ้ำ ) จำนวนโรงพยาบาลระดับโรงพยาบาลชุมชนขึ้นไปทั้งเป็นของรัฐและเอกชน 10 ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 จำนวนตำบลเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว จำนวนตำบลเป้าหมายทั้งหมด 11 เด็กที่มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 จำนวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปีที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการตามเกณฑ์และมีพัฒนาการปกติในช่วงเวลาที่กำหนด จำนวนเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ที่ได้รับการประเมินพัฒนาการตามเกณฑ์ทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน 12 เด็ก 0-5 ปี ได้รับการตรวจพัฒนาการตามวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จำนวนเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการตามวัยที่คลินิกเด็กดีคุณภาพและศูนย์เด็กเล็กในเวลาที่กำหนด จำนวนเด็กอายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด 13 เด็ก 0-5 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 จำนวนเด็กที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน จำนวนเด็กที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด 14 เด็กปฐมวัยมีปัญหาฟันน้ำนมผุ ไม่เกินร้อยละ 57 จำนวนเด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุ จำนวนเด็กอายุ 3 ปี 15 เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการตรวจช่องปาก จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่ได้รับการตรวจช่องปาก จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ทั้งหมด 16 ผู้ดูแลเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟัน จำนวนผู้ดูแลเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่ได้รับการฝึกทักษะแปรงฟัน

9 รายการข้อมูลของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
แบบจัดเก็บผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ศูนย์อนามัย KPI_CODE รายการข้อมูลของตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จังหวัด... รวม กลุ่มเด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) และสตรี 17 เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่มีความเสี่ยงฟันผุ ได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิช ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่ได้รับการทาฟลูออไรด์วาร์นิช จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ทั้งหมด 18 บริการ WCC คุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 จำนวนโรงพยาบาลทั่วประเทศตั้งแต่ระดับ รพช.ขึ้นไป ที่ให้บริการตามมาตรฐาน WCC คุณภาพ จำนวนโรงพยาบาลทั่วประเทศตั้งแต่ระดับ รพช.ขึ้นไป ทั้งหมด 19 ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ จำนวนศูนย์เด็กเล็กที่ผ่านมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพกระทรวงสาธารณสุข จำนวนศูนย์เด็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด 20 ครัวเรือนที่ใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนที่มีไอโอดีนเพียงพอ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 จำนวนตัวอย่างเกลือบริโภคเสริมไอโอดีนที่มีไอโอดีน ไม่น้อยกว่า 20 ppm. และไม่เกิน 40 ppm. จำนวนตัวอย่างเกลือบริโภคที่สำรวจทั้งหมด 21 เด็ก 6 เดือน - 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 70 จำนวนเด็ก 6 เดือน - 5 ปีที่ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง จำนวนเด็ก 6 เดือน - 5 ปีที่มารับบริการทั้งหมด กลุ่มวัยเรียน (5 – 14 ปี) 22 เด็กวัยเรียน (6-14 ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน จำนวนเด็กที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน จำนวนเด็กที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด 23 เด็กวัยเรียนที่มีภาวะอ้วน ไม่เกินร้อยละ 15 จำนวนเด็กอายุ 6-12 ปี ที่มีภาวะอ้วน จำนวนเด็กอายุ 6-12 ปี ที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด 24 โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม (ควบคุมน้ำหวานและขนมกรุบกรอบ) ไม่เกินร้อยละ 75 จำนวนโรงเรียนประถมศึกษาปลอดน้ำอัดลม ควบคุมน้ำหวาน/ขนมกรุบกรอบ จำนวนดรงเรียนที่มีการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา

10 รายการข้อมูลของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
แบบจัดเก็บผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ศูนย์อนามัย KPI_CODE รายการข้อมูลของตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จังหวัด... รวม กลุ่มวัยเรียน (5 – 14 ปี) 25 โรงเรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร จำนวน 154 แห่ง จำนวนโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 26 องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ จำนวน 76 แห่ง จำนวนองค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ 27 เด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 70 จำนวนเด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กสัปดาห์ละครั้ง จำนวนเด็กอายุ 6-12 ปีทั้งหมดในโรงเรียน กลุ่มวัยรุ่น 28 อัตราการคลอดของหญิงอายุ ปี ไม่เกิน 50 ต่อพันประชากร จำนวนการคลอดมีชีพของหญิงอายุ ปี จำนวนหญิงอายุ ปี ทั้งหมด (จำนวนประชากรกลางปีจากฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์) 29 ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ ปี ร้อยละ 10 จำนวนหญิงอายุ 15–19 ปีที่มาที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดหรือแท้งบุตร และเป็นการตั้งครรภ์ครั้งที่ 2 ขึ้นไป จำนวนหญิงอายุ 15–19 ปี ที่มาที่มารับบริการด้วยเรื่องคลอดหรือแท้งบุตรทั้งหมด 30 โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ., รพท., รพช.) ผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลตามมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน ร้อยละ 40 จำนวนโรงพยาบาลที่ดำเนินการพัฒนาบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชนผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวนโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงทั้งหมด 31 อำเภอที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ จำนวนอำเภอที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ จำนวนอำเภอทั้งหมด

11 รายการข้อมูลของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
แบบจัดเก็บผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ศูนย์อนามัย KPI_CODE รายการข้อมูลของตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จังหวัด... รวม กลุ่มวัยทำงาน 32 จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC) จำนวน 12 แห่ง จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (HPHNQC) 33 ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง จำนวน 152 แห่ง(ใหม่) จำนวนศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง 34 สถานบริการสาธารณสุขจังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีการดำเนินงานคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC) ตามเกณฑ์การประเมินของกรมอนามัย (รพศ., รพท., รพช.) ร้อยละ 100 จำนวน รพศ., รพท., รพช. ที่มีการดำเนินงานคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC) ตามเกณฑ์การประเมินของกรมอนามัย จำนวน รพศ., รพท., รพช. ทั้งหมด 35 สถานบริการสาธารณสุขจังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีการดำเนินงานคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC) ตามเกณฑ์การประเมินของกรมอนามัย (รพ.สต.) ร้อยละ 60 จำนวน รพ.สต. ที่มีการดำเนินงานคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC) ตามเกณฑ์การประเมินของกรมอนามัย จำนวน รพ.สต. ทั้งหมด 36 หน่วยบริการที่มีการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากในกลุ่มวัยทำงานร่วมกับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 30 จำนวนหน่วยบริการที่มีการจัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากวัยทำงาน จำนวนหน่วยบริการทั้งหมด 37 โรงพยาบาลต้นแบบด้านโภชนบำบัด โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 76 แห่ง จำนวนโรงพยาบาลต้นแบบด้านโภชนบำบัด โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง

12 รายการข้อมูลของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
แบบจัดเก็บผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ศูนย์อนามัย KPI_CODE รายการข้อมูลของตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จังหวัด... รวม กลุ่มผู้สูงอายุ 38 ผู้สูงอายุและก่อนวัยสูงอายุได้รับฟันเทียมพระราชทาน จำนวน 35,000 ราย จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับบริการใส่ฟันเทียมพระราชทาน 39 ผู้สูงอายุในกลุ่มเสี่ยงได้รับการพัฒนาทักษะกาย ใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จำนวนผู้สูงอายุในกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการพัฒนาทักษะทางกาย ใจ จำนวนผู้สูงอายุในกลุ่มเสี่ยงทั้งหมด 40 ตำบลที่ผ่านเกณฑ์ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 จำนวนตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวผ่านเกณฑ์ จำนวนตำบลทั้งหมด 41 จำนวนหน่วยบริการจัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ จำนวน 76 แห่ง จำนวนหน่วยบริการที่มีการจัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ 42 หน่วยบริการที่มีการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากในกลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการร่วมกับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 30 จำนวนหน่วยบริการทั้งหมด

13 รายการข้อมูลของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
แบบจัดเก็บผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ศูนย์อนามัย KPI_CODE รายการข้อมูลของตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จังหวัด... รวม การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 43 มูลฝอยติดเชื้อได้รับการจัดการอย่างถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 80 ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่ได้รับการจัดการอย่างถูกสุขลักษณะ (กิโลกรัม) ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อทั้งหมด (กิโลกรัม) 44 โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ได้มาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) การจัดการมูลฝอยติดเชื้อถูกสุขลักษณะ 2) การรายงานการเดินระบบบำบัดน้ำเสียตาม ม.80 3) สถานประกอบอาหารผู้ป่วยได้มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร 4) ระบบประปาโรงพยาบาล ผ่านเกณฑ์น้ำประปาดื่มได้ ร้อยละ 30 จำนวนโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ที่ได้มาตรฐานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ทั้ง 4 ด้าน จำนวนโรงพยาบาลสังกัดสำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อถูกสุขลักษณะ (แห่ง) จำนวนโรงพยาบาลสังกัดสำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มีการที่มีการควบคุมระบบบำบัดน้ำเสียให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการจัดทำรายงานการเดินระบบบำบัดน้ำเสีย ตาม ม.80 (แห่ง) จำนวนโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยได้มาตรฐานกรมอนามัย (แห่ง) จำนวนโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ระบบการจัดการน้ำบริโภคผ่านการรับรองน้ำประปาดื่มได้ (แห่ง) จำนวนโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (แห่ง) 45 ส้วมสาธารณะผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS จำนวนส้วมสาธารณะใน 12 กลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS จำนวนส้วมสาธารณะใน 12 กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 46 ตลาดนัดน่าซื้อต้นแบบ จำนวน 77 แห่ง จำนวนตลาดนัดที่พัฒนาผ่านเกณฑ์ตลาดนัดน่าซื้อ ในปีงบประมาณ 2557 (โปรดระบุชื่อและที่อยู่ตลาดนัดด้วย) จำนวนตลาดนัดทั้งหมด (แห่ง)

14 รายการข้อมูลของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
แบบจัดเก็บผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ศูนย์อนามัย KPI_CODE รายการข้อมูลของตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จังหวัด... รวม การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 47 อปท.มีคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างน้อย 1 ใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหาร 2) ด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค 3) ด้านการจัดการมูลฝอย 4) ด้านการจัดการสิ่งปฏิกูล) จำนวน 200 แห่ง จำนวนเทศบาลที่เข้าร่วมดำเนินการฯ ผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 1 ใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหาร 2) ด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค 3) ด้านการจัดการมูลฝอย 4) ด้านการจัดการสิ่งปฏิกูล) จำนวนเทศบาลที่เข้าร่วมดำเนินการฯ ผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหาร จำนวนเทศบาลที่เข้าร่วมดำเนินการฯ ผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการคุณภาพน้ำบริโภค จำนวนเทศบาลที่เข้าร่วมดำเนินการฯ ผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการมูลฝอย จำนวนเทศบาลที่เข้าร่วมดำเนินการฯ ผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการจัดการสิ่งปฏิกูล 48 จังหวัดที่มีระบบและกลไกการคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ครอบคลุม 4 ด้าน (มีคณะอนุกรรมการสาธารณสุขระดับจังหวัด, มีข้อมูลสถานการณ์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม, มีการรองรับภาวะฉุกเฉินจากมลพิษสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ,ส่งเสริม สนับสนุนให้เทศบาลในเขตจังหวัดมีการใช้เครื่องมือการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพเพื่อควบคุมการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535) จำนวน 32 จังหวัด จังหวัดที่มีการดำเนินงานเพื่อการคุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ครอบคลุม 4 ด้าน 49 โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินกิจกรรม GREEN เพิ่มขึ้นร้อยละ 30 ((จากผลรวมการดำเนินงานปีงบประมาณ 2555และ2556) จำนวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินกิจกรรม GREEN หมายเหตุ : เป็นโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ของกรมอนามัย

15 รายการข้อมูลของตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ
แบบจัดเก็บผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ศูนย์อนามัย KPI_CODE รายการข้อมูลของตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนินงานของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ จังหวัด... รวม การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 50 ร้อยละของจำนวนตลาดประเภทที่ 2 ตามกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ ได้รับการติดตามประเมินคุณภาพ ร้อยละ 80 จำนวนตลาดประเภทที่ 2 ที่ดำเนินการติดตามประเมินคุณภาพ จำนวนตลาดประเภทที่ 2 หมด 51 ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนเรื่องเหตุรำคาญ ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ ได้รับการจัดการ ตามขั้นตอนที่กำหนด จำนวนข้อร้องเรียนเรื่องเหตุรำคาญ ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ ที่ได้รับการจัดการ ตามขั้นตอนที่กำหนด จำนวนข้อร้องเรียนเรื่องเหตุรำคาญ ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ ทั้งหมดที่ได้รับแจ้ง ทุกกลุ่มอายุ 52 ร้อยละของ รพ.สต./ศสม. ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 45 จำนวน รพ.สต./ศสม. ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากได้คุณภาพตามเกณฑ์ จำนวน รพ.สต./ศสม. ทั้งหมด

16 การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด กรมอนามัย ปี 2557
ศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงาน กรมอนามัย หน้าเว็บไซด์กรมอนามัย เลือก ศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงาน กรมอนามัย คีย์ username และ password

17 เลือกการจัดทำแผนปฏิบัติการ/ผลการดำเนินงาน

18 เลือก รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด กรมอนามัย 2557
ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม โดยการคลิก ที่ ไฟล์รางานตัวชี้วัด จะปรากฏไฟล์เอกเซล (ใช้ hyper link ไปยัง Excel file) ให้หน่วยงานกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม เมื่อกรอกเสร็จ ให้แนบไฟล์เข้าระบบ

19 การดูข้อมูล กลับมายังหน้า Main Menu เลือกรายงานตัวชี้วัด เลือกผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกรมอนามัย

20 ข้อมูลที่ศูนย์อนามัยรายงานจะปรากฏในส่วนนี้ ทุกหน่วยงานสามารถดาวน์โหลดไปใช้ได้

21 ข้อมูลที่ได้จะถูกนำมาเก็บไว้ในฐานข้อมูลกลาง Data Center และนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น ตาราง แผนที่
โดย ตัวชี้วัดบางตัวที่สามารถประมวลผลจาก 43 แฟ้ม กองแผนงานจะประมวลผลคู่ขนานไปกับข้อมูลรางานจากศูนย์อนามัย

22

23

24


ดาวน์โหลด ppt ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายสืบพงษ์ ไชยพรรค ผู้อำนวยการกองแผนงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google