งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง
War room 20 กพ.55

2 เตรียมความพร้อมเครือข่าย
15 มีนาคม 2555 เตรียมความพร้อมเครือข่าย

3 3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย
เมษายน 2555 3 เดือน เชิงรุกเข้มข้น 3 สัปดาห์ทำลายแหล่ง 3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย กลยุทธ์ป้องกันควบคุมโรคจากยุง War room 20 กพ.55

4 “โครงการการป้องกันควบคุมโรคจากยุงจังหวัดเพชรบุรี ปี 2555”
แนวทางปฏิบัติ “โครงการการป้องกันควบคุมโรคจากยุงจังหวัดเพชรบุรี ปี 2555” Criteria 1. ทำในพื้นที่เสี่ยง 2. อายุเสี่ยง 15 ปี ลงมา 3. ทำในชุมชน เพื่อการควบคุมโรค โดย อสม. ใช้แถบวัดไข้ ทายา

5 3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย
อสม. 3 วัน สกัดการแพร่เชื้อจากผู้ป่วย 1. สำรวจบ้านทุกหลังที่รับผิดชอบที่เป็นพื้นที่เสี่ยง (กลุ่ม 15 ปีลงมา) สำรวจสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะเชื้อ 2. ใช้ แถบวัดไข้ ถ้ามีไข้ (37.5 Co)ทายากันยุงต่อหน้า เซ็นชื่อใน รายงาน ให้ยาทากันยุง 1 โหล สเปรย์ 1 กระป๋อง ให้ยืมมุ้ง 1 หลัง 3. หากพบ ไข้ 38 Co เฉียบพลันเป็นมา 3 วัน กินยา เช็ดตัวไข้ไม่ ลด ปวดศีรษะ ส่งไป รพ.สต.เพื่อตรวจ หาเชื้อเบื้องต้น 4. ส่งรายงานให้ รพ.สต.ในวันนั้น 5. ถ้าทำเสร็จ 1 วัน วันที่ 2 วันที่ 3 เก็บตก War room 20 กพ.55

6 รพ.สต./รพ./เทศบาล 1. ชี้แจงทำความเข้าใจกับอสม. บทบาท หน้าที่ ภารกิจ
2. จัดซื้อ ยาทากันยุง สเปรย์ และมุ้ง โดยใช้เงินบำรุง 3. จัดหาทราย ทีมีฟอส 4. ตรวจ Rapid Test ในกรณีที่ อสม.คัดกรองมาให้ พบ Positive ควบคุมโรคทันที( 3 สัปดาห์) 6. ส่ง ผู้ป่วยไปตรวจยืนยันที่ รพ. 5. ส่งรายงานที่ อสม.ส่งมา ส่งให้ สสจ. Online ทุกวัน

7 สสอ. 1. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับอำเภอ
2. ประชุมชี้แจงจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต. ทุกแห่ง 3.ตรวจสอบการส่งราย Online ของรพ.สต. 4. ส่งทีม SRRT เข้าสนับสนุนควบคุมโรค 5. ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ 6.สรุปผลและสรุปบทเรียน

8 โรงพยาบาลเครือข่าย 1. รับส่งต่อผู้ป่วยอาการสงสัย 2. ให้การรักษาตามมาตรฐานอาการ ทางคลินิก+LAB 3.เป็นแม่เครือข่ายวิชาการพัฒนาความรู้

9 สสจ. 1. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการการ 2. ประชุมชี้แจงแนวทาง (15 มีค.55)
3. สนับสนุน แถบวัดไข้ และ Rapid Test 4. ทำช่องทาง รายงาน Online 5. สนับสนุนรายงานต้นแบบให้ 6. จัดทำคู่มือการดำเนินงาน

10 ควบคุมโรคโดยมืออาชีพ
3 สัปดาห์ทำลายแหล่ง ควบคุมโรคโดยมืออาชีพ 1.ฐานข้อมูลจาก รพ. มีรายงานผู้ป่วย ให้ควบคุมโรค 3 สัปดาห์( สวล. ทำลายแหล่ง กำจัดลูกน้ำ พ่น สารเคมี ทุกสัปดาห์ 3 สัปดาห์) 2. Rapid Test Positive

11 3 เดือน เชิงรุกเข้มข้น 1. พื้นที่ทำประชาคม ประชาชนมีส่วนร่วม
1. พื้นที่ทำประชาคม ประชาชนมีส่วนร่วม 2.นำมาตรการสำคัญทั้งหมดลงดำเนินการใน พื้นที่ ต่อเนื่อง เข้มข้น 3. จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ลงบริการถึงชุมชน

12 การดำเนินงานรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ จังหวัดเพชรบุรี เมษายน 255 (7 วัน ) กลุ่มงานควบคุมโรค

13 ผลการดำเนินงานเทศกาลสงกรานต์
บาดเจ็บ(ราย) (Admit) เสียชีวิต(คน) ปี พ.ศ. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เสียชีวิต 2551 60 69 4 2552 65 5 2553 61 53 2554 50 1 2555 47 หมายเหตุ กำหนดเป้าหมายโดยกระทรวงมหาดไทย (ลดจากผลงานปีที่ผ่านมาร้อยละ 5)

14 จุดตรวจของจังหวัดเพชรบุรี ช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จำนวน 24 จุด
จุดตรวจของจังหวัดเพชรบุรี ช่วงเทศกาลสงกรานต์ จำนวน 24 จุด 1.เมืองเพชรบุรี จำนวน 4 จุด 2.ท่ายาง จำนวน 4 จุด 3.ชะอำ จำนวน 4 จุด 4.บ้านลาด จำนวน 3 จุด 5.เขาย้อย จำนวน 3 จุด 6.บ้านแหลม จำนวน 2 จุด 7.แก่งกระจาน จำนวน 3 จุด 8.หนองหญ้าปล้อง จำนวน 1 จุด

15 ขั้นตอนการรายงานข้อมูลอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2555 จำนวน 7 วัน
ขั้นตอนการรายงานข้อมูลอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ จำนวน 7 วัน (11 เม.ย. 55 – 17 เม.ย. 55) ศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับจังหวัด โรงพยาบาล รัฐบาล 8 แห่ง เอกชน 2 แห่ง (เพชรรัชต์ , เมืองเพชร-ธนบุรี) สสอ./รพ.สต. ปภ.บอ. 4 ภายในเวลา น. ของทุกวัน ศูนย์ปฏิบัติการฯ ระดับอำเภอ 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี ตรวจสอบข้อมูลที่หน้า Web site 1 ตรวจสอบความซ้ำซ้อนของข้อมูล 2 ส่งข้อมูลศูนย์ปฏิบัติการ ฯ ระดับจังหวัด 2 รายงานเฉพาะของ กระทรวงสาธารณสุข รายงานผ่าน Web site สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 1.นางบุญตา กลิ่นมาลี โทรศัพท์มือถือ 2.นายอนุชา ปิ่นเพชร โทรศัพท์มือถือ เหตุการณ์ ฉุกเฉิน รายงานอุบัติเหตุหมู่/อุบัติเหตุใหญ่ รายงานทางโทรศัพท์ (ทันที ตลอด 24 ชม.) 1.นพ.สสจ. 2.รอง นพ.สสจ. ผู้รับผิดชอบ ในแต่ละวัน


ดาวน์โหลด ppt เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google