งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน คลินิก NCD คุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน คลินิก NCD คุณภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน คลินิก NCD คุณภาพ
ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ วันที่ 27 มกราคม 2557 นางฐิติมา โกศัลวิตร รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี

2 ประเด็นการประชุม เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลจากประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานอำเภอส่งเสริมป้องกันควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2557 ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนคลินิก NCD คุณภาพ

3 เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
ระดับเขตสุขภาพ ระดับกระทรวง ตัวชี้วัด ด้านบริหาร ตัวชี้วัด คุณภาพบริการ ตัวชี้วัดกลุ่มวัย

4 ความเชื่อมโยงการดำเนินงานกรมควบคุมโรค สู่เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข 2557
ความเชื่อมโยงการดำเนินงานกรมควบคุมโรค สู่เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข 2557 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง ตัวชี้วัด / มาตรการ กรมควบคุมโรค 1. ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85) ร้อยละของเด็ก 0-2 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ยกเว้น MMR ไม่น้อยกว่า 95) 2. ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน ปชก.อายุ ปี (ไม่เกิน 13) ร้อยละของร้านค้าไม่จำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้กับบุคคลที่อายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์ (ลดลงร้อยละ 10) มาตรการ 1. พัฒนากฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ / ผลักดันบังคับใช้/ควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2. พัฒนาศักยภาพเยาวชนการเฝ้าระวัง ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ 3. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 13 ต่อ ปชก.แสนคน) จำนวนอำเภอนำร่องที่มีการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุทางถนนแบบบูรณาการ ผ่านกลไกการดำเนินงานของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง (76 อำเภอ/ 76 จังหวัด) 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลและสารสนเทศอุบัติเหตุทางถนน 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากร เครือข่าย ให้เข้มแข็ง /สื่อสารความเสี่ยงถึงผลกระทบของอุบัติเหตุ

5 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง ตัวชี้วัด / มาตรการ กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยง (ต่อ) การดำเนินงานกรมควบคุมโรค สู่ เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข 2557 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง ตัวชี้วัด / มาตรการ กรมควบคุมโรค 4. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 20 ต่อประชากรแสนคน) ร้อยละประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 5. ร้อยละของผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60 – 70 ปีที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง (ไม่เกิน 14.54) ร้อยละของประชาชนอายุ (60) 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ร้อยละ 90) 6. ร้อยละของ WCC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) ร้อยละของเด็ก 0 -2 ปี ได้รับวัคซีนทุกประเภทตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ยกเว้น MMR ไม่น้อยกว่า 95) 7. ร้อยละศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) ประเมินรับรองศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค 8. ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือ Youth friendly service?? 9. ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50) ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (80)

6 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง ตัวชี้วัด / มาตรการ กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยง (ต่อ) การดำเนินงานของกรมควบคุมโรค สู่ เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง ตัวชี้วัด / มาตรการ กรมควบคุมโรค 10. ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80) ร้อยละของอำเภอที่มี SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80) มาตรการ 1. พัฒนาขีดความสามารถ SRRT เฉพาะทีมตอบสนองปัญหาพื้นที่ 2. ขยายเครือข่ายเฝ้าระวังไปยังหน่วยบริการสาธารณสุขเอกชน / โรงงาน 11. ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 72) ?? 12. ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 1. พัฒนาเกณฑ์คุณภาพ 2. ติดตามประเมินผลเสริมส่วนขาดให้จังหวัดไปติดตามประเมินผล รพ. 13. หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการเดียวกัน ร้อยละ 20 14. ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้างงบลงทุนสามารถลงนามในสัญญาจ้างได้ในไตรมาสที่ 1 (เท่ากับ 100) Applicable with all DDC units 15. ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมในปีงบประมาณ 2557 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 94)

7 จุดเน้น 5 ปี และกรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 NHL4 ผลสัมฤทธิ์ระบบการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่องการป้องกัน ควบคุมโรค : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” HL1 การพัฒนาเชิงระบบ HL101 กลไกการเฝ้าระวัง ตอบสนองต่อโรคและภัยสุขภาพ ภาวะปกติและฉุกเฉิน HL102 การจัดการความรู้ การรับรองมาตรฐาน และการประเมินเทคโนโลยี HL103 การพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ HL2 โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง HL201 ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน HL202 ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง HL203 ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง HL ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย HL3 โรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม HL วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (ในภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตรกรรม) HL4 โรคติดต่อ HL401 ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นทีเสี่ยง HL402 ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย HL403 ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ HL ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง : หัด , มือ เท้า ปาก จุดเน้นการพัฒนางานกรมควบคุมโรค 2557 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยเน้นพัฒนา/สร้างความเข้มแข็งให้เกิด ดังนี้ 1) ระบบเน้น - พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดพื้นที่การควบคุมโรคต้นแบบ ที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรคที่ยั่งยืน โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเอง อย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี พัฒนากลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน สร้าง/พัฒนาความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D, KM, HTA) ผลิตภัณฑ์กรมควบคุมโรคให้ได้มาตรฐาน ที่ผ่านการทดสอบ ทดลองว่าได้ผล ในบริบทต่างๆ พัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป็นตัวแทนของกรมควบคุมโรคที่ได้รับการยอมรับด้านวิชาการ มีผลงานเชิงประจักษ์ (ในแต่ละปี) 2) ประเด็นโรคเน้น เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อ - ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย - ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง - ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข => ในภาคอุตสาหกรรม => ในภาคเกษตรกรรม

8 ร้อยละอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (ร้อยละ 80)
ตัวชี้วัดเป้าหมายการดำเนินงาน ตามภารกิจที่เป็นจุดเน้นของกรมควบคุมโรค” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ร้อยละอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (ร้อยละ 80) อัตราการป่วยด้วยโรคหัด (ปี 56 ไม่เกิน 37 ต่อแสน ประชากร, ปี 57 ไม่เกิน 20 ต่อแสนประชากร, ปี 58 ไม่เกิน 0.5 ต่อแสนประชากร) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ (ลดลง 2 ใน 3) อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ลดลงไม่เกินค่ามัธยฐาน ย้อนหลัง 5 ปีที่ผ่านมา (Proxy indicator) อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค ร้อยละผู้สูบบุหรี่ในวัยรุ่น (ไม่เกิน10) อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำอายุ ปี (ไม่เกิน 8 ต่อประชากรแสนคน) อัตราป่วยด้วยโรคจากการประกอบอาชีพภาคเกษตร (15 ต่อประชากร UC แสนคน)

9 แนวคิดการดำเนินงานระหว่าง DHS และ DCCD
1. คณะกรรมการ SRRT 2. ระบบระบาดวิทยาที่ดี อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ 3 การวางแผนงาน 4. การระดมทรัพยากร 5. มีผลสำเร็จของ การควบคุมป้องกันโรค

10 ด้านการควบคุมโรคไม่ติดต่อ(คลินิก NCD คุณภาพ)
สรุปผลจากประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน อำเภอส่งเสริมป้องกันควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2557 20 – 22 พฤศจิกายน 2556 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์โฮเทล แอนด์ คอนเวนชัน เซ็นเตอร์ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ด้านการควบคุมโรคไม่ติดต่อ(คลินิก NCD คุณภาพ)

11 ร่วมกันกำหนดเป้าหมายดำเนินงาน
แผนงาน กลุ่มเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ร้อยละของหน่วยบริการในกระทรวงสาธารณสุขประเมินตัวเองผ่านเกณฑ์ รพศ. รพท. รพช. รพสต. 70 ร้อยละ รพศ./รพท. ได้รับการประเมินตามเกณฑ์คลินิก NCD คุณภาพ รพศ. รพท. - 100 ร้อยละ รพช.ได้รับการประเมินตามเกณฑ์คลินิก NCD คุณภาพ รพช. 30 60 80

12 แผนประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ปี 57
เดือน วันที่ พื้นที่ กุมภาพันธ์ 3-7 *** 10-13 17-21 24-28 มีนาคม 10-14

13 เป้าหมายการดำเนินงาน เขตฯ 8 ,10
ร้อยละ 30 ของโรงพยาบาลทุกแห่ง (100 แห่ง) จังหวัด จำนวน รพ ร้อยละ 30 อุบลราชธานี 26 (คิด 30%= 8 ) รพศ. 1 S M1+2 = 4 F2 = 2 ศรีสะเกษ 22 คิด 30% =7) รพท. 1 M F1 = 2 F2 = 1 ยโสธร 9 คิด 30% =3 ) รพท.(s) 1 F1 = 1 อำนาจเจริญ 7 (คิด 30% =2) รพท.(s) 1 F2 = 1

14 เป้าหมายการดำเนินงาน (ต่อ)
จังหวัด จำนวน รพ ร้อยละ 30 มุกดาหาร 7 (คิด 30% =2) รพท. 1 F2 = 1 สกลนคร 18 (คิด 30% =5) รพศ.(A) 1 M1+2 =2 F1 = 1 F2 = 1 นครพนม 11 (คิด 30% =3) M2 1 F1= 1 100 30

15 ด้านคณะกรรมการประเมิน ฯ
จัดให้มีตัวแทนแต่ละจังหวัด สร้างเป็นทีมประเมินรับรอง ในแต่ละพื้นที่ โดยมี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี เป็นเลขา ผลจากการประชุม ได้ ร่าง คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ที่มาจากตัวแทนแต่ละจังหวัด แต่งตั้งโดยผู้ตรวจราชการ ร่างแผนการออกประเมินรับรอง ในแต่ละพื้นที่ในเขตรับผิดชอบ สคร.7อบ.

16 ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนคลินิก NCD คุณภาพ วันที่ 6-7 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
กำหนดเป้าหมาย ร้อยละ 30 ของหน่วยบริการ(รพศ/รพท/รพช) ประชุมกลุ่มเครือข่ายตามเขตรับผิดชอบ แต่ละ สคร.

17 ผลสรุป เขต สคร.7 อบ. ให้แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ในระดับพื้นที่ ของ สคร.7 อบ. เพื่อดำเนินการประเมินแต่งตั้งโดยผู้ตรวจราชการ กำหนดอำเภอกลุ่มเป้าหมายที่จะลงทำการประเมินรับรอง ให้สรุปแผนการประเมินรับในแต่ละอำเภอให้ชัดเจน( วัน เวลา ) ให้ระบุตัวกรรมการที่จะเป็นผู้ดูรายละเอียดในแต่ละตัวชี้วัด ให้มีการประชุมกรรมการทุกคน เพื่อพิจารณาเกณฑ์การประเมิน ให้จัดประชุม คณะกรรมการอีกครั้ง ในวันที่ 17 มกคราคม 2557

18 วันที่ 23 มกราคม 2557 ประชุมพัฒนาเกณฑ์การประเมินรับรองคลินิก NCD คุณภาพ ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ได้พัฒนาเกณฑ์ ตามรายละเอียด


ดาวน์โหลด ppt ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน คลินิก NCD คุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google