งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ ปี 2552 สุธารัตน์ วิทย์ชัยวุฒิวงศ์

2 แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ชี้แจงแผนการดำเนินงานในปี 2552 แก่ สสจ.ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ธ.ค. 51 - ช.ย. 15 ธ.ค. 51 - ส.ร. 17 ธ.ค. 51 - บ.ร. 17 ธ.ค. 51 - น.ม. 19 ธ.ค. 51 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการการให้บริการด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข 28-29 ม.ค. 52 (2 วัน) สสจ./รพศ.รพท./สสอ./รพช./สอ. 3 การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานให้บริการด้าน อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข ก.พ. 52 – มิ.ย. 52 - สนับสนุนด้านวิชาการ ได้แก่ เอกสารความรู้/วิทยากร - ติดตามผลการดำเนินงาน 4 การประเมินผลการให้บริการด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข มิ.ย. 52 – ส.ค. 52 - ตามแนวทางการดำเนินการแต่ละระดับ

3 แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ กำหนดเป้าหมายในการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯในกลุ่มแรงงานนอกระบบ และระบบการจัดเก็บข้อมูล ประชุมชี้แจงหน่วยบริการสาธารณสุขระดับรพ.และสถานีอนามัยในจังหวัดให้ทราบถึงกรอบแนวคิดและการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯในกลุ่มแรงงานนอกระบบ เตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับในหน่วยบริการสาธารณสุขโดยการจัดเวทีการอบรมให้ความรู้ในเรื่องการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มผู้ทำงานแรงงานนอกระบบ 1 วัน สนับสนุนการดำเนินงาน นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน สรุปรายงานผลการดำเนินงาน และจัดทำสถานการณ์สภาวะสุขภาพในกลุ่มแรงงานนอกระบบของจังหวัด/อำเภอ

4 แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ
หน่วยบริการสาธารณสุขระดับรพ.และสถานีอนามัย ประชุมชี้แจง อบต./อสม./อสอช. /แกนนำกลุ่มอาชีพในชุมชนในเรื่องการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯในกลุ่มแรงงานนอกระบบ เตรียมความพร้อมอสม. /อสอช. /แกนนำกลุ่มอาชีพในชุมชน โดยการอบรมให้ความรู้ในเรื่องการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มผู้ทำงานแรงงานนอกระบบ 1 วัน ดำเนินการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในชุมชนโดยการใช้แบบประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ (นบ.01) ในชุมชน  ในหน่วยบริการสาธารณสุข รวบรวม ข้อมูลจากแบบประเมินความเสี่ยงฯ(นบ.01) บันทึกจัดเก็บตามระบบ และสรุปลงในรายงานสถานการณ์ความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ (นบ.02)

5 แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ
หน่วยบริการสาธารณสุขระดับรพ.และสถานีอนามัย (ต่อ) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบประเมินความเสี่ยงฯ(นบ.01) แบบสำรวจสิ่งคุกคามสุขภาพ และข้อมูลการเจ็บป่วยและบาดเจ็บจากการทำงานของหน่วยบริการสาธารณสุข จัดทำเป็นสถานการณ์ข้อมูลกลุ่มแรงงานนอกระบบในพื้นที่ จัดส่งรายงานผลการดำเนินงานตามระยะเวลาที่กำหนด จัดเวทีคืนข้อมูลการประเมินความเสี่ยงฯและสถานการณ์ข้อมูลกลุ่มแรงงานนอกระบบในพื้นที่ ให้ชุมชน กลุ่มผู้ประกอบอาชีพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในชุมชน เพื่อให้เกิดการดำเนินงานจัดการปัญหาต่อไป

6 แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน , อาสาสมัครอาชีวอนามัยในชุมชน, แกนนำกลุ่มอาชีพในชุมชน ได้รับการอบรมเรื่องการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพในกลุ่มผู้ทำงานแรงงานนอกระบบ ร่วมดำเนินการประเมินความเสี่ยงฯให้แก่กลุ่มแรงงานนอกระบบในหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ โดยการใช้แบบประเมินความเสี่ยง ฯ (นบ.01) รวบรวมแบบประเมินความเสี่ยง ฯ ให้หน่วยบริการสาธารณสุขที่สังกัด เฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมให้แก่กลุ่มแรงงานนอกระบบในหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ/ในกลุ่มอาชีพที่ประกอบอาชีพอยู่

7 แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ในกลุ่มแรงงานนอกระบบ
หัวข้อวิชา/ขอบเขตเนื้อหา/ตารางการอบรม (ระยะเวลาอบรม 1 วัน) การอบรมให้ความรู้เบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. /อสอช./แกนนำในอาชีพ เพื่อดำเนินการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานของกลุ่มแรงงานนอกระบบ ควรประกอบด้วยหัวข้อวิชา 1) โรคจากการประกอบอาชีพที่พบบ่อยในพื้นที่ 2) การประเมินความเสี่ยงในการทำงาน 3) การ ฝึกปฏิบัติการใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของแรงงานนอกระบบ 4) การเฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

8 สรุปการดำเนินงาน ข้อมูลจำนวนแรงงานนอกระบบในพื้นที่รับผิดชอบ
เป้าหมายประเมินความเสี่ยงอย่างน้อย 20%ของแรงงานนอกระบบ ดำเนินการประเมินความเสี่ยงตามแบบ นบ.01 สรุปข้อมูลจาก นบ.01 ลงแบบ นบ.02 จัดส่ง นบ.02 ให้สสจ. สสจ. สรุป นบ.02 ส่งให้สคร. จัดทำสถานการณ์ของแต่ละระดับ

9 สรุประบบรายงาน สคร. (ระดับเขต) สำนัก ฯ (ระดับประเทศ) นบ.02
จัดส่งรายงานถึง สคร. ภายในเดือน มิถุนายน 2552 สสจ. (ระดับจังหวัด) นบ.02 สสอ. (ระดับอำเภอ) นบ.02 รพ./สอ. (ระดับตำบล) เป้าหมาย 20% ของแรงงานนอกระบบ นบ.01 ชุมชน (อสม.)

10 การจัดทำสถานการณ์แรงงานนอกระบบ
ข้อมูลพื้นฐานด้านอาชีวอนามัย -โครงสร้างของประชากรวัยแรงงาน กลุ่มอาชีพหลัก อาชีพรอง การรวมตัวของกลุ่มอาชีพ รายได้ของประชากรในชุมชน -ข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ทำงานในชุมชน ข้อมูลจำนวนโรคและภัยจากการทำงาน และ ข้อมูลจากการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงฯ ข้อมูลสภาวะสุขภาพของวัยแรงงาน การจัดการปัญหา แนวทางการควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน การลดพฤติกรรมเสี่ยง

11 อัตราการได้รับการตรวจประเมินความเสี่ยง
สูตรคำนวณ : จำนวนแรงงานนอกระบบที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงาน X 100 จำนวนแรงงานนอกระบบทั้งหมดในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วยบริการสาธารณสุข อัตราความเสี่ยงต่อสุขภาพระดับสูง สูตรคำนวณ: จำนวนแรงงานนอกระบบที่มีระดับความเสี่ยงสูง ( ผลรวมของคะแนนความเสี่ยง10 – 12 คะแนน)X100 จำนวนแรงงานนอกระบบที่ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงาน

12 นิยาม : แรงงานนอกระบบ ผู้ทำงานที่มีอายุระหว่าง ปี ไม่ได้รับสิทธิคุ้มครองสุขภาพตามกฎหมายแรงงาน สวัสดิการข้าราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ แต่ยังคงได้รับสิทธิการรักษาพยาบาลจากหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เช่น ผู้ทำการผลิตที่บ้าน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน การจ้างงานนอกระบบ การจ้างงานตนเอง การรับเหมาช่วง เป็นต้น ภาคเกษตรกรรม ภาคการผลิต ได้แก่ วิสาหกิจชุมชน ทอผ้า เฟอร์นิจอร์ ภาคบริการ ได้แก่ รับจ้าง เสริมสวย ก่อสร้าง เก็บขยะ

13 กลุ่มแรงงานนอกระบบ

14 กลุ่มแรงงานนอกระบบ

15 กลุ่มแรงงานนอกระบบ

16 กลุ่มแรงงานนอกระบบ

17 กลุ่มแรงงานนอกระบบ

18 กลุ่มแรงงานนอกระบบ

19 กลุ่มแรงงานนอกระบบ

20 กลุ่มแรงงานนอกระบบ

21 กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา Tel : Fax :


ดาวน์โหลด ppt แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google