งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
นายแพทย์มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 14 ตุลาคม 2553

2 พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่ อปท. จัดระบบบริการสาธารณะ
ความเป็นมา รัฐธรรมนูญ 2550 มุ่งเน้นกระจายอำนาจ จังหวัด อำเภอ ตำบล พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่ อปท. กำหนดหน้าที่ในการ จัดระบบบริการสาธารณะ นโยบายรัฐมนตรี รพ.สต. สป. / กรม คร. SRRT

3 อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
กรมควบคุมโรค วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการภายในปี 2563 อำเภอ รพ.สต. สสจ. ยุทธศาสตร์ การดำเนินงานแบบมุ่งเน้นผลงาน เครื่องมือ : คุณลักษณะอำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน 3

4 นิยาม “อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง
อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์

5 ปัจจุบัน อนาคต ไม่เป็นระบบ??
กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ ปัจจุบัน อนาคต 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน 4.มีการระดมทุนฯ 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??

6 “คุณลักษณะอำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
มีคณะกรรมการพิจารณาควบคุมโรคและภัยสุขภาพระดับอำเภอ 1.1 มีองค์ประกอบจากทุกภาคส่วนได้แก่ภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน 1.2 มีการประชุมสม่ำเสมอ 1.3 มีรายงานผลการประชุม 1.4 มีการนำผลจากการประชุมไปปฏิบัติงาน 1.5 มีการติดตามผลการดำเนินงาน 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี 2.1 มีระบบข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาที่ดี : มีรายงานการเกิดโรครวดเร็ว ครบถ้วน รวดเร็ว/ มีข้อมูล / สถิติ การเกิดโรค / มีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ / มีการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการควบคุม ป้องกันโรค / มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการบริหารข้อมูล 2.2 มีทีม SRRT ที่มีประสิทธิภาพ : ในระดับอำเภอ มีทีมSRRT อย่างน้อย 1 ทีม / SRRTมีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน ในระดับตำบล มีทีมSRRTทุกตำบล / SRRT มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน 2.3 โรงพยาบาลมีห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น อหิวาตกโรค โรคไข้เลือดออก 3. มีการวางแผนป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3.1 มีเป้าหมายการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญหรือเป็นปัญหา 3.2 มีแผนควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุข 3.3 มีแผนป้องกัน เตรียมความพร้อม ควบคุมโรค และภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน ข้อ 3.3 มีการซ้อมแผน / มีตัวอย่างการดำเนินตามแผนเมื่อเกิดเหตุ / มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและจัดทำข้อเสนอเพื่อปรับปรุง 4. มีการระดมทุนหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 4.1 องค์การปกครอบส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ.,เทศบาล, อบต กองทุนในพื้นที่ เช่นกองทุนสุขภาพชุมชน CUP 4.4 องค์กรเอกชนอื่นๆ (......) 5. มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญหรือเป็นปัญหา เช่น ไข้เลือดออก,อหิวาตกโรค, วัณโรค และ 6 6

7 1. มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
1.1 มีองค์ประกอบจากทุกภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน 1.2 มีการประชุมสม่ำเสมอ 1.3 มีรายงานผลการประชุม 1.4 มีการนำผลจากการประชุมไปปฏิบัติ 1.5 มีการติดตามผลการดำเนินงาน 7

8 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดี
2.1 มีระบบข้อมูลข่าวสารทางระบาดวิทยาที่ดี - มีรายงานการเกิดโรครวดเร็ว ครบถ้วน ถูกต้อง - มีข้อมูล/สถิติ การเกิดโรค - มีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ - มีการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการควบคุมป้องกันโรค 8

9 2.2 มีทีม SRRT ที่มีประสิทธิภาพ ในระดับอำเภอ
ø มีทีม SRRT อย่างน้อย 1 ทีม ø ทีม SRRT มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน - ในระดับตำบล ø มีทีม SRRT ทุกตำบล ø SRRT มีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน 2.3 โรงพยาบาลชุมชนมีห้องปฏิบัติการ ตรวจ วินิจฉัยโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น อหิวาตกโรค โรคไข้เลือดออก 9

10 3. มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
3.1 มีเป้าหมายการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญหรือเป็นปัญหา 3.2 มีแผนควบคุมป้องกันโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุข 3.3 มีแผนป้องกัน เตรียมความพร้อม ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ในภาวะฉุกเฉิน ø มีการซ้อมแผน ø มีตัวอย่างการดำเนินตามแผนเมื่อเกิดเหตุ ø มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและจัดทำข้อเสนอเพื่อปรับปรุง 10

11 4. มีการระดมทุนหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม
4.1 องค์การปกครอบส่วนท้องถิ่น เช่น อบจ. , เทศบาล , อบต. 4.2 กองทุนในพื้นที่ เช่น กองทุนสุขภาพชุมชน ฯลฯ 4.3 CUP 4.4 องค์กรเอกชนอื่นๆ (.....) 11

12 5. มีผลสำเร็จของการควบคุมโรค ที่สำคัญหรือปัญหา เช่น
5.1 ไข้เลือดออก 5.2 อหิวาตกโรค 5.3 วัณโรค 12

13 แนวทางการดำเนินงาน พัฒนาระบบบริหารจัดการระดับจังหวัด เพื่อสนับสนุนอำเภอ ให้ได้ตามคุณลักษณะ สื่อสาร ประชาสัมพันธ์สร้างกระแส กระตุ้น จูงใจให้หน่วยงานทุกภาคส่วน สนใจ เข้าร่วม ติดตามประเมินผล ประกวด ยกย่อง ให้รางวัล พัฒนาสมรรถนะบุคลากรสาธารณสุขระดับจังหวัด อำเภอและตำบลที่ยังไม่ผ่านคุณลักษณะ

14 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google