งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการโทรทัศน์ครู สร้างครูมืออาชีพ ด้วยมืออาชีพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการโทรทัศน์ครู สร้างครูมืออาชีพ ด้วยมืออาชีพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการโทรทัศน์ครู สร้างครูมืออาชีพ... ...ด้วยมืออาชีพ
เครือข่ายโทรทัศน์ครูภูมิภาค ภาคกลางตอนล่าง มหาวิทยาลัยศิลปากร (แม่ข่าย) สร้างครูมืออาชีพ... ...ด้วยมืออาชีพ สร้างเครือข่าย ขยาย แบ่งบัน

2 ความเป็นมา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.)ได้เสนอ แผนโครงการโทรทัศน์ครู ซึ่งมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “ โครงการพัฒนาระบบ Teacher TV : การวิเคราะห์นโยบาย เนื้อหา ออกแบบ จัดทำบทรายการ พัฒนาและผลิตเผยแพร่เนื้อหาบนสื่อ ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ตามแผนกระตุ้นเศรษฐกิจปี โดยคณะรัฐมนตรี ได้อนุมัติให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดำเนินโครงการและได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยบูรพาเป็นผู้บริหารโครงการ ระยะเวลา 3 ปี ( )

3

4

5 วัตถุประสงค์โครงการ 1) เพื่อพัฒนารายการโทรทัศน์คุณภาพสูงที่เอื้อประโยชน์ ต่อการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา โดยเฉพาะครู เพื่อกระตุ้นให้เกิดวงจรการพัฒนาในวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง 2) เพื่อพัฒนาสื่อ / ช่องทางสำหรับการเผยแพร่และถ่ายทอดรายการให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง

6 วัตถุประสงค์โครงการ 3) เพื่อสร้างแหล่งความรู้ ที่รวบรวมวิธีปฏิบัติในด้านการเรียนการสอนที่ดี ข้อมูล ข่าวสาร ที่เชื่อมโยงเรื่องการศึกษา อันจะเป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ เพื่อการพัฒนาทักษะในวิชาชีพครู ที่ครู ผู้บริหารโรงเรียน ผู้กำหนดนโยบาย และบุคคลที่เกี่ยวข้อง สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ 4) เพื่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ทั้งในคณะศึกษาศาสตร์ โรงเรียน และ หน่วยงานทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องทั่วประเทศ

7 การประชาสัมพันธ์โครงการ
ระยะที่ 1 สร้างการรับรู้ในกลุ่มเป้าหมาย โดยการทำประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่างๆ ดังนี้ 1. Free TV 2. Road Show สัมมนาคณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ผู้นำการศึกษาชุมชุน 3. DVD Kit 4. สื่อประชาสัมพันธ์อื่นๆ เช่น โปสเตอร์, แผ่นพับ, นิตยสารแจกฟรี

8

9

10 การประชาสัมพันธ์โครงการ
ระยะที่ 2 ทดลองใช้ ทำความเข้าใจ มีช่องทางในการรับชมที่สะดวก ได้แก่ ฟรีทีวี เว็บไซต์ ดีวีดี โทรทัศน์ ดาวเทียม(เคเบิ้ลทีวี) โทรทัศน์อินเตอร์เน็ท(IPTV) ระยะที่ 3 ติดตามรายการอย่างต่อเนื่อง (Engagement) การจัดเนื้อหารายการและกิจกรรมพิเศษให้น่าสนใจ มีการผลิตรายการที่เป็นรูปแบบการให้ผู้เชี่ยวชาญ ลงไปศึกษาปัญหา และเสนอแนะ , มีการให้ข้อมูลข่าวสารตามความสนใจของสมาชิก เพื่อให้สอดรับกับความต้องการของผู้ชม

11 การประชาสัมพันธ์โครงการ
4. การดำเนินการจัดตั้งเครือข่ายครู การดำเนินการจัดตั้งเครือข่ายครู 9 ภูมิภาค มีองค์ประกอบเครือข่าย ดังนี้

12 1) เครือข่ายภาคเหนือตอนบน
2) เครือข่ายภาคเหนือตอนล่าง 3) เครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 4) เครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 5) เครือข่ายภาคกลางตอนบน 6) เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง 7) เครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออก 8) เครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนบน 9) เครือข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ตอนล่าง แผนปฏิบัติการเครือข่ายโทรทัศน์ครู 9 ภูมิภาค

13

14 เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง
ประกอบด้วย นครปฐม, ราชบุรี, เพชรบุรี, กาญจนบุรี,สมุทรสาคร, สมุทรสงคราม, สุพรรณบุรี, ประจวบคีรีขันธ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (แม่ข่าย) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสมเด็จเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

15 เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง
สำนักงานเขตพื้นที่ในภาคภูมิภาค สพป.นครปฐม เขต 1-2 สพป.ราชบุรี เขต 1-2 สพป.เพชรบุรี เขต 1-2 สพป.กาญจนบุรี เขต 1-4 สพป.สมุทรสาคร เขต 1 สพป.สุพรรณบุรี เขต 1-3 สพป.ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1-2 สพป.สมุทรสงคราม เขต 1

16 เครือข่ายภาคกลางตอนล่าง
สำนักงานเขตพื้นที่ในภาคภูมิภาค สพม. เขต 1-2 (กรุงเทพมหานคร) สพม. เขต 3 (นนทบุรี,พระนครศรีอยุธยา) สพม. เขต 8 (ราชบุรี,กาญนบุรี) สพม. เขต 9 (สุพรรณบุรี,นครปฐม) สพม. เขต 10 (เพชรบุรี, สมุทรสาคร, สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์)

17

18

19

20

21

22

23

24 การสมัครสมาชิก โทรทัศน์ครู
การสมัครสมาชิก โทรทัศน์ครู

25

26

27

28

29

30

31

32


ดาวน์โหลด ppt โครงการโทรทัศน์ครู สร้างครูมืออาชีพ ด้วยมืออาชีพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google