งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การลำเลียงผ่านเมมเบรน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การลำเลียงผ่านเมมเบรน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การลำเลียงผ่านเมมเบรน
Biological membrane Biological membrane หมายถึง เยื่อหุ้มเซลล์ (plasma membrane) รวมถึงเมมเบรนที่ห่อหุ้ม ออร์กาแนลภายใน เช่น คลอโรพลาสต์ ไมโทคอนเดรีย นิวเคลียส แวคคิโอล (tonoplast) และไลโซโซม ในบทนี้จะเน้นถึงองค์ประกอบ โครงสร้างและกระบวนการลำเลียงผ่าน plasma membrane

2 การลำเลียงผ่านเมมเบรน TRANSPORT ACROSS MEMBRANE

3 การลำเลียงผ่านเมมเบรน
TYPICAL PLANT CELL

4 บทบาทของเยื่อหุ้มเซลล์
เยื่อหุ้มเซลล์ (plasma membrane) มีความบางมาก (6-10 nm.) ปฏิกิริยาเคมีมากมายที่จำเป็นต่อชีวิตเกิดขึ้นได้เพราะการมีเยื่อหุ้มเซลล์ทำให้เซลล์สามารถรักษาสภาพแวดล้อมภายในเซลล์ให้เหมาะสมได้ เยื่อหุ้มเซลล์มีบทบาทหลายประการเช่น  เป็นพื้นที่ทำงานของปฎิกิริยาชีวเคมีมากมาย รับข้อมูลให้เซลล์รับรู้ถึง การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมภายนอกเซลล์ และทำให้ เซลล์ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้  ประสานการติดต่อและสื่อสารกับเซลล์อื่นๆ  ควบคุมการเคลื่อนเข้า-ออกของสารต่างๆ

5 โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์
Model ที่อธิบายถึงโครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ที่ยอมรับกันมากที่สุดในขณะนี้คือ Fluid Mosaic Model ซึ่งกล่าวว่า เยื่อหุ้มเซลล์ประกอบด้วยชีวโมเลกุล 3 ชนิด คือ 1. ไขมัน 2 ชั้น (phospholipid bilayer) มีลักษณะค่อนข้างเหลว ไหลไปมาได้ ส่วนนี้คือส่วนที่เรียกว่า “fluid” 2. โปรตีน - peripheral membrane protein - integral membrane protein โปรตีนส่วนนี้มีบทบาทแตกต่างกันมากมาย เป็นส่วนที่เรียกว่า “mosaic” 3. คาร์โบไฮเดรต ส่วนใหญ่เป็น oligosaccharides คาร์โบไฮเดรตที่เกาะติดกับโปรตีน เรียกว่า glycoproteinคาร์โบไฮเดรตที่เกาะติดกับไขมัน เรียกว่า glycolipid

6 รูปที่ 1 โครงสร้างของ plasma membrane
Glycoprotein Carbohydrate Extracellular Fluid Glycolipid Phospholipid{ Cytoplasm

7 รูปที่ 2 a) ส่วน hydrophilic head (phosphate group) ละลายได้ในน้ำ จึงหันเข้าหาน้ำ และปกป้องส่วนที่เป็น hydrophobic tail (fatty acid) ซึ่งหันหนีจากน้ำ b) ทำให้เกิดการเรียงตัวของชั้น ไขมันเป็น 2 ชั้น (phospholipid bilayer) ซึ่งเหมาะสมกับบทบาทของเมมเบรน

8 รูปที่ 2 PHOSPHOLIPIDS a) ส่วน hydrophilic head (phosphate group) ละลายได้ในน้ำ จึงหันเข้าหาน้ำ และปกป้องส่วนที่เป็น hydrophobic tail (fatty acid) ซึ่งหันหนีจากน้ำ b) ทำให้เกิดการเรียงตัวของชั้น ไขมันเป็น 2 ชั้น (phospholipid bilayer) ซึ่งเหมาะสมกับบทบาทของเมมเบรน

9 FLUID MOSAIC MODEL รูปที่ 3 CARBOHYDRATE PERIPHERAL PROTEIN
INTEGRAL PROTEIN CHOLESTEROL CARBOHYDRATE PHOSPHOLIPID BILAYER

10 รูปที่ 4 โปรตีนใน phospholipid bilayer

11 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเมมเบรน
ปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ภายในเซลล์จะเกิดได้ในสภาพที่เป็นสารละลายและการที่สารใดสารหนึ่งจะเคลื่อนเข้าเซลล์ได้ สารนั้นต้องละลายได้ในของเหลว เช่น เมื่อผสมกลูโคสกับน้ำ ผลึกของแข็งของกลูโคสจะละลายได้ และกระจายทั่วของเหลว กลายเป็นสารละลาย (solution) ซึ่งมีของเหลว (น้ำ) เป็นตัวทำละลาย (solvent) และมีกลูโคสเป็นตัวถูกละลาย (solute) สารใดละลายได้ในของเหลวจัดว่า soluble สารใดที่ไม่ละลายในของเหลวจัดว่า insoluble การเคลื่อนที่ของสารภายในสารละลายและการเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (เมมเบรน) มีความสำคัญต่อการทำงานของเซลล์

12 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเมมเบรน


ดาวน์โหลด ppt การลำเลียงผ่านเมมเบรน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google