งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมสัมมนา “ผลิตผลงานวิชาการอย่างไร ให้ผ่านแบบม้วนเดียวจบ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมสัมมนา “ผลิตผลงานวิชาการอย่างไร ให้ผ่านแบบม้วนเดียวจบ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมสัมมนา “ผลิตผลงานวิชาการอย่างไร ให้ผ่านแบบม้วนเดียวจบ”
การประชุมสัมมนา “ผลิตผลงานวิชาการอย่างไร ให้ผ่านแบบม้วนเดียวจบ” สภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ 24 ธันวาคม 2552 20/12/2552

2 หัวข้อการนำเสนอ กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ผลการสอน
1 กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2 คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง 3 ผลการสอน 4 ผลงานวิชาการ 5 จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ 6 ขั้นตอนการดำเนินการ การ 7 การขอทบทวนผลการประเมินฯ 8 ประมวลคำแนะนำต่าง ๆ 20/12/2552

3 ๑. กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง
1. ประกาศ ก.พ.อ.เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้ง บุคคลให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. ๒๕๕๒ 2. ข้อบังคับสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ว่าด้วยการพิจารณา ตำแหน่งวิชาการ ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ. ๒๕๕๒ 3. ประกาศคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์และศาสตราจารย์ พ.ศ. ๒๕๕๒ Download ได้จากเวบไซต์ 20/12/2552

4 ๒.คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง
ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริญญาตรี 9 ปี ปริญญาโท 5 ปี ปริญญาเอก 2 ปี ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี ตำแหน่งศาสตราจารย์ ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี 20/12/2552

5 ๓.ผลการสอน ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตำแหน่งรองศาสตราจารย์
มีชั่วโมงสอนประจำ มีความชำนาญในการสอน เสนอเอกสารประกอบการสอนที่มีคุณภาพดี ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ มีความชำนาญพิเศษในการสอน ตำแหน่งศาสตราจารย์ 20/12/2552

6 ๓.ผลการสอน การประเมินผลการสอน พิจารณาจากความสามารถในด้านต่าง ๆ คือ
มีการวางแผนการสอนอย่างเป็นระบบ แนะนำให้ผู้เรียนรู้จักแหล่งข้อมูลที่ค้นคว้าเพิมเติม การสอนให้ผู้เรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ การใช้เทคนิควิธีสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ จัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน ใช้สื่อการสอนได้เหมาะสม ทำให้ผุ้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของวิชาที่เรียนกับวิชาอี่นที่เกี่ยวข้อง ใช้จิตวิทยาในการสอน จัดให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ตามความเหมาะสม 20/12/2552

7 ๓.ผลการสอน เกณฑ์การประเมิน 4.25 - 5.00 เชี่ยวชาญ 3.25 - 4.24
ชำนาญพิเศษ ชำนาญ เกณฑ์การประเมิน ระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ ต้องมีผลการสอนอยู่ในระดับ ชำนาญ ระดับรองศาสตราจารย์ ต้องมีผลการสอนอยู่ในระดับ ชำนาญพิเศษ ระดับศาสตราจารย์ ต้องมีผลการสอนอยู่ในระดับ เชี่ยวชาญ 20/12/2552

8 ตำรา/หนังสือ/บทความวิชาการ
๔.ผลงานวิชาการ ตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ผลงานวิชาการ ลักษณะอื่น งานวิจัย ตำรา/หนังสือ/บทความวิชาการ 20/12/2552

9  ๔.ผลงานวิชาการ ผลงานวิชาการ งานวิจัย ลักษณะอื่น ตำรา/หนังสือ
ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ ผลงานวิชาการ ลักษณะอื่น งานวิจัย ตำรา/หนังสือ 20/12/2552

10  ๔.ผลงานวิชาการ ผลงานวิชาการ งานวิจัย ลักษณะอื่น ตำรา/หนังสือ
ตำแหน่งศาสตราจารย์ (วิธีที่ 1) ผลงานวิชาการ ลักษณะอื่น งานวิจัย ตำรา/หนังสือ 20/12/2552

11 ๔.ผลงานวิชาการ งานวิจัย ผลงานวิชาการ ลักษณะอื่น ตำรา/หนังสือ
ตำแหน่งศาสตราจารย์ (วิธีที่ 2) งานวิจัย ผลงานวิชาการ ลักษณะอื่น ตำรา/หนังสือ 20/12/2552

12 นิยาม ผลงานวิชาการและเกณฑ์การเผยแพร่
- ใช้ประกอบการสอนในรายวิชาในหลักสูตร สะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชา และวิธีการสอน อย่างเป็นระบบ เอกสาร ประกอบ การสอน เป็นเอกสารที่จัดทำเป็นรูปเล่ม หรือถ่ายสำเนาเย็บเล่ม หรือสื่ออื่น ๆ เช่น ซีดี-รอม - ใช้ประกอบการสอนมาแล้ว เอกสาร คำสอน - ใช้ประกอบการสอนในรายวิชาในหลักสูตร สะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชา และวิธีการสอนอย่างเป็นระบบ - มีความสมบูรณ์มากกว่าเอกสารประกอบการสอน เป็นเอกสารที่จัดทำเป็นรูปเล่ม หรือถ่ายสำเนาเย็บเล่ม หรือสื่ออื่น ๆ เช่น ซีดี-รอม มีหลักฐานว่าได่เผยแพร่โดยใช้เป็น”คำสอน”แก่ผู้เรียน ในวิชานั้นแล้ว 20/12/2552

13 นิยาม ผลงานวิชาการและเกณฑ์การเผยแพร่
บทความ ทางวิชาการ งานเขียนทางวิชาการ ซี่งมีการกำหนดประเด็น ที่ชัดเจน มีการวิเคราะห์ ตามหลักวิชาการ จนสามารถ สรุปผลได้ อาจเป็นการเรียบเรียงความรู้จากแหล่งต่าง ๆ โดย แสดงทัศนะทางวิชาการของตนเองไว้อย่างชัดเจน - เผยแพร่ในรูปบทความทางวิชาการ ในวารสารวิชาการ - เผยแพร่ในหนังสือรวบรวมบทความในรูปแบบอื่น ที่การบรรณาธิกรณ์ข้อมูล - เผยแพร่ในหนังสือประมวลผลการประชุมทางวิชาการ ของ การประชุมทางวิชาการระดับชาติ/นานาชาติ 20/12/2552

14 นิยาม ผลงานวิชาการและเกณฑ์การเผยแพร่
ตำรา ผลงานทางวิชาการที่เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ ครอบคลุมเนื้อหาสาระของวิชา หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิชา สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการถ่ายทอดวิชาใน ระดับอุดมศึกษา ต้องระบุวิชาที่เกี่ยวข้องในหลักสูตรที่ใช้ตำรานี้ เผยแพร่ด้วยการพิมพ์จากโรงพิมพ์ (Printing house) หรือ สำนักพิมพ์ (Publishing house) หรือ โดยการถ่ายสำเนาเย็บเล่ม เผยแพร่โดยสื่ออิเลคโทรนิคส์อื่น ๆ (เช่น CD-ROM) เป็นการเผยแพร่อย่างกว้างขวาง ต้องได้รับการรับรอง / ตรวจสอบการเผยแพร่จากคณะ ต้องใช้ในการเรียนการสอนมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ภาค 20/12/2552

15 นิยาม ผลงานวิชาการและเกณฑ์การเผยแพร่
ผลงานทางวิชาการที่เรียบเรียงโดยมีรากฐานทางวิชาการ ให้ทัศนะของผู้เขียน ที่สร้างเสริมปัญญา ความคิด สร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการให้แก่สาขาวิชานั้น ๆ ไม่จำเป็นต้องสอดคล้อง หรือเป็นไปตามข้อกำหนดของหลักสูตร ไม่จำเป็นต้องใช้ประกอบการเรียนการสอนในวิชา หนังสือ เผยแพร่ด้วยการพิมพ์จากโรงพิมพ์ (Printing house) หรือ สำนักพิมพ์ (Publishing house) เผยแพร่โดยสื่ออิเลคโทรนิคส์อื่น ๆ (เช่น CD-ROM) เป็นการเผยแพร่อย่างกว้างขวาง ต้องได้รับการรับรอง / ตรวจสอบการเผยแพร่จากคณะ มีระยะเวลาการเผยแพร่มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 เดือน 20/12/2552

16 นิยาม ผลงานวิชาการและเกณฑ์การเผยแพร่
ผลงานทางวิชาการที่เป็นงานศึกษา หรืองานวิจัย ด้วยวิธีวิทยาทางการ วิจัย มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เพื่อให้ได้ ข้อมูล คำตอบ หรือข้อสรุป มีการเผยแพร่ในรูปบทความ วิจัย ในวารสารทางวิชาการ มีการเผยแพร่ในหนังสือ รวมบทความวิจัย มีการนำเสนอเป็นบทความ วิจัยต่อที่ประชุมวิชาการ ถ้าเป็นการเสนอในรูปรายงาน การวิจัย ต้องแสดงหลักฐานว่า ได้ผ่านการประเมินคุณภาพ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ และแสดง หลักฐานว่าได้เผยแพร่ไปยัง วงวิชาการและวิชาชีพอย่าง กว้างขวาง งานวิจัย นำเสนอในรูปรายงานการวิจัย ที่มีความครบถ้วนสมบูรณ์ ชัดเจน ตลอดทั้งกระบวนการวิจัย (Research Process) นำเสนอในรูปบทความวิจัยที่ ประมวลสรุปกระบวนการวิจัย ให้มีความกระชับ สำหรับนำเสนอ ในการประชุมวิชาการ หรือ วารสารวิชาการ 20/12/2552

17 นิยาม ผลงานวิชาการและเกณฑ์การเผยแพร่
บทความทางวิชาการลักษณะอื่น ไม่ใช่ทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้น โดยปกติ อาจหมายรวมถึงสิ่งประดิษฐ์ หรืองานสร้างสรรค์ หรือผลงานศิลปะ หรือสารานุกรม หรืออาจรวมถึงงานแปล จากงานต้นแบบที่เป็นงานวรรณกรรม ปรัชญา หรือประวัติศาสตร์ หรือวิทยาการสาขาอื่น อาจเป็นการแปลจาก ไทย -> ภาษาอื่น หรือ ภาษาอื่น ->ภาษาไทย หรือภาษาอื่น -> ภาษาอื่น 20/12/2552

18 ๕.จริยธรรมและจรรยาบรรณฯ
1. มีความซื่อสัตย์ทางวิชาการไม่เคยนำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ไม่ลอกเลียนผลงานผู้อื่น 2. ไม่นำผลงานของตนเองในเรื่องเดียวกันไปเผยแพร่ในสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่ยอมรับได้มากกว่าหนึ่งแหล่ง ในลักษณะที่จะทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นผลงานใหม่ 3. ต้องให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่นำมา ใช้ในผลงานวิชาการของตนเองและแสดงหลักฐานของการ ค้นคว้าไว้อย่างชัดเจน 20/12/2552

19 ๕.จริยธรรมและจรรยาบรรณฯ
4. ไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาการ จนละเลยหรือละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของผู้อื่น และสิทธิมนุษยชนเพื่อให้ได้มาซึ่งผลงานวิชาการ 5. ต้องศึกษาโดยใช้หลักวิชาการเป็นเกณฑ์ ไม่มีอคติมาเกี่ยวข้อง และเสนอผลงานตามความเป็นจริง ไม่จงใจเบี่ยงเบนผลการวิจัยโดยหวังผลประโยชน์ส่วนตัว หรือสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น และเสนอผลงานตามความเป็นจริง ไม่ขยายข้อค้นพบโดยปราศจากการตรวจสอบยืนยันในทางวิชาการ 6. นำผลงานไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบธรรมและชอบด้วย กฎหมาย อย่างชัดเจน 20/12/2552

20 ๖.ขั้นตอนการดำเนินการ      - รับเรื่องอย่างเป็นทางการ
ตรวจสอบคุณสมบัติผู้เสนอขอฯ ประเมินการสอนเบิ้องต้น คณะ 2. แต่งตั้งกรรมการผู้ทรง คุณวุฒิ ประเมิน จริยธรรม และจรรยาบรรณทาง วิชาการ และผลงานทางวิชาการ แต่งตั้งอนุกรรมการ ประเมินผลการสอน และเอกสารประกอบ การสอน /คำสอน คณะกรรมการพิจารณา ตำแหน่งทางวิชาการ ผ่าน ไม่ผ่าน นำเสนอสภามหาวิทยาลัย พิจารณาอนุมัติ นำเสนอสภามหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณา อธิการบดี ออกคำสั่งแต่งตั้ง สภามหาวิทยาลัย แจ้งผล การดำเนินการต่อผู้เสนอขอฯ เสนอ ก.พ.อ. (ขึ้นทะเบียนตำแหน่ง) 20/12/2552

21 (นำส่งเอกสารพร้อมหลักฐาน ต่อคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ)
๖.ขั้นตอนการดำเนินการ ลำดับ/ผู้ดำเนินการ การดำเนินการ แบบฟอร์ม 1. ผู้เสนอขอฯ เสนอเอกสารผลงานวิชาการต่อคณะ พร้อมหลักฐานการเผยแพร่ ตามเกณฑ์ที่ ก.พ.อ.กำหนด จำนวน 5 ชุด สำหรับผู้เสนอขอวิธีปกติ จำนวน8 ชุด สำหรับผุ้เสนอขอวิธีพิเศษ วช.1 วช.2 วช.3 (ถ้ามี) 2. คณะ 1. รับเรื่องอย่างเป็นทางการ 2. ตรวจสอบหลักฐาน 3. กลั่นกรองและตรวจสอบคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง 4. คณบดีประเมินผลการสอนเบื้องต้น ตรวจสอบหลักฐานตาม วช.1 วช.2 และ วช.3 (นำส่งเอกสารพร้อมหลักฐาน ต่อคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ) 3. คณะกรรมการ พิจารณาตำแหน่ง ทางวิชาการ 1. พิจารณาแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน ผลงานทางวิชาการ (Reader) 2. แต่งตั้งอนุกรรมการประเมินผลการสอน 20/12/2552

22 ๖.ขั้นตอนการดำเนินการ ลำดับ/ผู้ดำเนินการ การดำเนินการ แบบฟอร์ม
4. อนุกรรมการประเมินผลการสอน ประเมินเอกสารประกอบการสอน / เอกสาร คำสอน และประเมินผลการสอน วช.4 วช.5 5. คณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิฯ 1. ประเมินจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ 2. ประเมินผลงานวิชาการ วช.6 วช.7 6.คณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ พิจารณาผลการประเมินผลงานทางวิชาการของผู้ทรงคุณวุฒิ และอนุกรรมการประเมินผลการสอน 7. สภามหาวิทยาลัย พิจารณาอนุมัติตำแหน่งทางวิชาการและแจ้งสภาวิชาการ 8. อธิการบดี ออกคำสั่งแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง 9. งานบริหารงานบุคคล รายงาน ส.ก.อ. ขึ้นทะเบียนตำแหน่งทางวิชาการ 20/12/2552

23 ๗.การขอทบทวนผลงานฯ กระทำได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 รับ ไม่รับ
เฉพาะกรณีที่สภาฯ ไม่อนุมัติให้ดำรงตำแหน่ง กระทำได้ 2 ครั้ง ผู้เสนอขอทบทวนผลการประเมินโดยยื่นข้อโต้แย้งทางวิชาการต่อ สภามหาวิทยาลัย ภายใน 90 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับทราบมติ ครั้งที่ 1 สภามหาวิทยาลัยพิจารณาข้อโต้แย้งว่ามีเหตุผลทางวิชาการ เพียงพอในการรับพิจารณาหรือไม่ รับ ส่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา ไม่รับ แจ้งผลการพิจารณาต่อผู้ขอทบทวน 20/12/2552

24 ๗.การขอทบทวนผลงานฯ กระทำได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 2 รับ ไม่รับ
เฉพาะกรณีที่สภาฯ ไม่อนุมัติให้ดำรงตำแหน่ง กระทำได้ 2 ครั้ง ผู้เสนอขอทบทวนผลการประเมินโดยยื่นข้อโต้แย้งทางวิชาการ เพิ่มเติม ต่อสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ 2 สภามหาวิทยาลัยพิจารณาข้อโต้แย้งว่ามีเหตุผลทางวิชาการ เพียงพอในการรับพิจารณาหรือไม่ รับ แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่รับ แจ้งผลการพิจารณาต่อผู้ขอทบทวน 20/12/2552

25 ข้อแนะนำ การเสนอผลงานต้องมีเนื้อหาที่แสดงความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่เสนอขอตำแหน่ง ไม่เปลี่ยนความเชี่ยวชาญ การขอตำแหน่งทางวิชาการโดยวิธีพิเศษ การเปลี่ยนแปลงความเชี่ยวชาญ การข้ามระดับ คุณสมบัติไม่ครบตามเกณฑ์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 4 ใน 5 คุณภาพ ผศ./รศ. ระดับดีมาก ศ. ระดับดีเด่น ผลงานต้องครอบคลุมครบถ้วนตรงกับสาขาที่ขอตำแหน่ง 20/12/2552

26 ข้อแนะนำ เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน/ตำรา/หนังสือ การพิมพ์
ควรตรวจทานเครื่องหมาย ตัวสะกด และวรรคตอนให้ถูกต้อง รูปแบบการพิมพ์ ขอให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งเล่ม ควรมีสารบัญรูปภาพที่นำมาใช้ และใส่เลขที่รูปภาพทุกรูป เนื้อหา ควรมีความทันสมัยในสาขาวิชาชีพ ควรใช้คำศัพท์ตามราชบัณฑิตยสถาน/มาตรฐานวิชาชีพ ควรใช้คำศัพท์คำเดียวกัน ควรเรียงลำดับเนื้อหาให้มีความเชื่อมโยงและต่อเนื่องกัน ควรครอบคลุมเนื้อหาวิชาทั้งหมด ควรมีการสรุปความคิดเห็นของผู้เขียน นอกเหนือจากการเรียบเรียงมาจากแหล่งต่างๆ 20/12/2552

27 ข้อแนะนำ เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน/ตำรา/หนังสือ การอ้างอิง
ควรใช้ระบบอ้างอิงที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งเล่ม ควรใช้แหล่งอ้างอิงที่ทันสมัยตามสาขาวิชาชีพ ควรมีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลและรูปภาพที่นำมาจากเว็บไซต์ ควรจัดทำบรรณานุกรมให้ครบถ้วน/ตรงกับการอ้างอิง ควรระมัดระวังเรื่องลิขสิทธิ์: กรณีนำผลงานของผู้อื่นจำนวนมากมาอ้างอิง ต้องขออนุญาตจากเจ้าของผลงาน ควรเขียนเชิงอรรถ (Footnote) เมื่อคัดลอกผลงานมาจากที่อื่น 20/12/2552

28 ข้อแนะนำ การวิจัย ควรเลือกหัวข้อการวิจัยที่จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียน การสอนในสาขาวิชา/สังคม ควรอภิปรายและให้ข้อเสนอแนะผลที่เกิดจากการวิจัย และในการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการอ้างอิงเมื่อนำแบบสอบถาม/ข้อมูลของผู้อื่นมาใช้ 20/12/2552

29 ข้อแนะนำ บทความทางวิชาการ
ควรเป็นงานเขียนที่มีการวิเคราะห์ประเด็นในรายละเอียด ควรแสดงทัศนะและภูมิปัญญาของผู้เขียน ควรมีการสรุปประเด็น โดยอาจนำความรู้จากแหล่งต่างๆ มาสังเคราะห์ มีการเขียนอ้างอิงที่ถูกต้อง มีการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ/วิชาชีพที่มี Peer Review 20/12/2552

30 ขอเชิญตั้งคำถามได้ค่ะ
ขอขอบคุณ และ ขอเชิญตั้งคำถามได้ค่ะ 20/12/2552


ดาวน์โหลด ppt การประชุมสัมมนา “ผลิตผลงานวิชาการอย่างไร ให้ผ่านแบบม้วนเดียวจบ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google