งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
วิชา ฟิสิกส์ ข้อที่ สหวิทยาเขต 4 สพม.เขต 26

2 ข้อ 23 . ธาตุกัมมันตรังสีธรรมชาติ X มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,000 ปี นักธรณีวิทยาค้นพบซากของสัตว์โบราณที่มีปริมาณธาตุกัมมันตรังสี X เหลืออยู่เพียง 6.25% ของปริมาณเริ่มต้น สัตว์โบราณนี้มีชีวิตโดยประมาณเมื่อกี่ปีมาแล้ว 1. 10,000 ปี ,000 ปี 3. 20,000 ปี ,000 ปี

3 วิเคราะห์ข้อ 23. สาระที่ 5 พลังงาน. มาตรฐาน ว 5
วิเคราะห์ข้อ 23. สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 ตัวชี้วัดที่ 9 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์ (การหาครึ่งชีวิตของธาตุ) แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ ,000 ปี การหาช่วงครึ่งชีวิตของกัมมันตรังสี จาก 100 – 50 – ได้ช่วงครึ่งชีวิตทั้งหมด 4 ช่วง ธาตุกัมมันตรังสีธรรมชาติ X มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5,000 ปี x 4 ช่วง = 20,000 ปี แนวคิดเพิ่มเติม

4 24. วัตถุอันหนึ่งเมื่ออยู่บนโลกที่มีสนามโน้มถ่วง g พบว่ามีน้ำหนักเท่ากับ W1 ถ้านำวัตถุนี้ไปไว้บนดาวเคราะห์อีกดวงพบว่ามีน้ำหนัก W2 จงหามวลของวัตถุนี้ W1/g W2/g (W1 + W2)/g (W1 + W2)/2g  

5 วิเคราะห์ข้อ 24. สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่. มาตรฐาน ว 4
วิเคราะห์ข้อ สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว ตัวชี้วัดที่ เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงโน้มถ่วง แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 1. W1/g จาก W=mg บนโลก W1=mg m = W1/g มวล (m) มีค่าคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง

6 1. เข็มทิศชี้ไปทางขวา 2. เข็มทิศชี้ไปทางซ้าย
ข้อ 25. วางเข็มทิศอันหนึ่งบนโต๊ะ เข็มทิศชี้ขึ้นในลักษณะดังรูป ถ้านำประจุบวกไปวางไว้ทางด้านซ้ายของเข็มทิศ จะเกิดอะไรขึ้น 1. เข็มทิศชี้ไปทางขวา 2. เข็มทิศชี้ไปทางซ้าย 3. เข็มทิศชี้ลง 4. เข็มทิศชี้ทางเดิม เอกสารเพิ่มเติม

7 วิเคราะห์ข้อ 25. สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่. มาตรฐาน ว 4. 1
วิเคราะห์ข้อ สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 ตัวชี้วัดที่ เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงนิวเคลียร์ แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 4. เข็มทิศชี้ทางเดิม ประจุไฟฟ้าไม่มีผลต่อเข็มทิศ ทำให้เข็มทิศชี้ทางเดิม (แต่มีผลใสนามแม่เหล็ก)

8 26. โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยู่รวมกันเป็นนิวเคลียสได้ ด้วยแรงใด 1
26. โปรตอนและนิวตรอนสามารถอยู่รวมกันเป็นนิวเคลียสได้ ด้วยแรงใด 1. แรงดึงดูดระหว่างมวล 2. แรงไฟฟ้า 3. แรงแม่เหล็ก แรงนิวเคลียร์ วิเคราะห์ข้อ 26 สาระที่ 4 มาตรฐาน ว ตัวชี้วัดที่ 4 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงนิวเคลียร์ แนวคิดในการตอบ ตอบข้อ 4. แรงนิวเคลียร์ นิวคลีออนในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงนิวเคลียร์ ซึ่งมีค่ามากกว่า แรงผลักทางไฟฟ้าระหว่างนิวคลีออน นิวคลีออนจึงอยู่รวมกันในนิวเคลียสได้

9 27. ในรูปซ้าย A และ B คือเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาค 2 อนุภาคที่ถูกยิงมาจากจุด P ไปทางขวาเข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก (ดูในรูปซ้าย) ถ้านำอนุภาคทั้งสองไปวางลงในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าดังรูปขวา จะเกิดอะไรขึ้น

10 1. A เคลื่อนที่ไปทางขวา ส่วน B เคลื่อนที่ไปทางซ้าย 2
1. A เคลื่อนที่ไปทางขวา ส่วน B เคลื่อนที่ไปทางซ้าย 2. A เคลื่อนที่ไปทางซ้าย ส่วน B เคลื่อนที่ไปทางขวา 3. ทั้ง A และ B ต่างเคลื่อนที่ไปทางขวา 4. ทั้ง A และ B ต่างเคลื่อนที่ไปทางซ้าย สาระที่ มาตรฐาน. ว ตัวชี้วัดที่ 3 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า แนวคิดในการตอบ จากหลักการเคลื่อนที่ของประจุในสนามแม่เหล็ก ที่กล่าวว่า เมื่อประจุวิ่งเข้าไปในสนามแม่เหล็ก ถ้าประจุใดเป็นบวกจะมีพุ่งขึ้นส่วนประจุใดที่เป็นลบจะพุ่งลง จากภาพ ประจุ A พุ่งขึ้นจึงสรุปได้ว่า A เป็นประจุบวก ส่วน B พุ่งลงจึงสรุปได้ว่า B เป็นประจุลบ และเมื่อนำประจุดังกล่าวมาเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้า จะเห็นว่า A พุ่งไปทางขวา ส่วน B พุ่งไป

11 28. ยิงอนุภาคอิเล็กตรอนเข้าไปในแนวตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าสม่ำเสมอที่มีทิศพุ่งออกจากกระดาษ เส้นทางการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจะเป็นอย่างไร ( g แทนทิศสนามไฟฟ้าพุ่งออกและตั้งฉากกับกระดาษ) 1. เบนขึ้น 2. เบนลง 3. เบนพุ่งออกจากกระดาษ 4. เบนพุ่งเข้าหากระดาษ

12 ข้อ 28 สาระที่ 4 มาตรฐาน ว 4. 1 ตัวชี้วัดที่ 3 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 28 สาระที่ มาตรฐาน ว ตัวชี้วัดที่ 3 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า แนวคิดในการตอบ อิเล็กตรอนวิ่งเข้าสนามไฟฟ้าที่ มีทิศพุ่งออกทำให้ทิศของอิเล็กตรอนมีทิศพุ่งเข้าหากระดาษ

13 ข้อ 30 สาระที่ 4 มาตรฐาน .ว 4.2 ตัวชี้วัดที่1 เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง การเคลื่อนที่ในแนวตรง แนวคิดในการตอบ พิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่

14 ข้อ 30 สาระที่.4 มาตรฐานว 4.2 ตัวชี้วัดที่ 1
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง การเคลื่อนที่ในแนวตรง แนวคิดในการตอบ พิจารณาถึงปริมาณที่อยู่บนแกนของกราฟ


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google