ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPreet Sangwit ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สื่อสารเกี่ยวกับโครงการ การพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล: ระยะที่ 1 การประเมินเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน มหาวิทยาลัยมหิดล
2
หัวข้อนำเสนอ รายละเอียดโครงการ หลักการประเมินที่ใช้ (360 องศา)
กระบวนการดำเนินโครงการ การกำหนดผู้ประเมิน 360 องศา การรักษาความลับ แผนการดำเนินงาน
3
dk โครงการพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล
คนสำคัญที่ทำให้วิสัยทัศน์ของมหิดลเป็นจริงได้คือ … dk โครงการพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล วิสัยทัศน์: มหาวิทยาลัยมหิดลมุ่งมั่นที่จะเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก ผู้บริหารทุกคนของมหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อเตรียมพร้อมผู้บริหารของเราให้พร้อมนำพามหิดลสู่การเป็น มหาวิทยาลัยระดับโลก เราจึงริเริ่ม… โครงการพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล (ระยะที่ 1: การประเมินผลเพื่อวางแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจน) ระบุคุณลักษณะของผู้บริหาร การประเมินผู้บริหาร 360 องศา พัฒนาความสามารถผู้บริหาร ให้ข้อมูลป้อนกลับรายบุคคล ผู้บริหารกำหนดแผนการพัฒนาตนเอง ดำเนินการพัฒนาตามแผน มุมมองท่านอธิการบดี วัฒนธรรมองค์กร สมรรถนะหลัก ผู้บริหารของมหิดลต้องมีความสามารถอย่างไร สมรรถนะทางการบริหาร รู้จุดแข็ง รู้จุดควรพัฒนา
4
โครงการพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล
รายละเอียดโครงการ โครงการพัฒนาผู้บริหารของมหาวิทยาลัยมหิดล จุดประสงค์: เพื่อเตรียมผู้บริหารให้พร้อมในการนำพาให้มหิดลบรรลุวิสัยทัศน์ “มหาวิทยาลัยมหิดลมุ่งมั่นที่จะเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก” ขอบเขต: ผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 55 ท่าน รองอธิการบดี 11 ท่าน ผู้บริหารส่วนงาน 34 ท่าน ผู้อำนวยการกอง 10 ท่าน ประโยชน์: ผลการประเมิน 360 องศา ของผู้บริหารแต่ละท่าน อันประกอบด้วย จุดแข็ง และจุดที่ควรพัฒนาให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น นำไปสู่การกำหนดแผนการพัฒนาตนเองของผู้บริหารแต่ละท่าน และแผนการพัฒนาผู้บริหารของมหิดลในภาพรวม พัฒนาต่อตามแผน
5
หลักการการประเมิน 360 องศา
แนวทางการกำหนดผู้ประเมิน กลุ่มเพื่อนร่วมงาน: ประสานงาน/ทำงานร่วมกันใกล้ชิด กับผู้ถูกประเมิน มีโอกาสได้รับรู้/เห็นผลงานของผู้ถูก ประเมิน มีตำแหน่งในระดับชั้นเดียวกัน กลุ่มผู้ใต้บังคับบัญชา: ควรคัดเลือกให้มีองค์ประกอบที่สมดุลใน ด้านเพศ, อายุ, ระดับผลการปฏิบัติงาน, ระดับการศึกษา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง จำนวนผู้ประเมินในกลุ่มต่างๆ ผู้บังคับบัญชา 1-2 ท่าน เพื่อนร่วมงาน 3-5 ท่าน ผู้ใต้บังคับบัญชา 5-7 ท่าน
6
หลักการการประเมิน 360 องศา
ข้อดีของการประเมิน 360 องศา เป็นการเปิดรับข้อมูล/ความเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมในการบริหารจาก หลากหลายมุมมอง ผลมีความเป็นกลาง และเที่ยงตรง กว่าการประเมินจากมุมมองใด มุมมองหนึ่ง ช่วยเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร การให้ Feedback ต่อกันและกัน และการเปิดรับระบบการประเมิน ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง
7
กระบวนการดำเนินโครงการ
ออกแบบแบบประเมิน 360 องศา กจ. จะส่งแบบเสนอรายชื่อผู้ประเมินให้ท่านทาง โปรดกรอกส่งคืนภายใน วันพุธที่ 4 มิถุนายน สื่อสารขอความร่วมมือ ผู้เข้าร่วมโครงการเสนอชื่อผู้ประเมิน ผู้ดำเนินงานสุ่มชื่อ ใช้แบบประเมินกระดาษ ผู้ประเมินนำกระดาษคำตอบที่กรอกแล้วใส่ซองเดิม/ผนึกซอง อธิการบดีเป็นผู้ถือกุญแจตู้ APM รับซองจากอธิการบดี โดยตรงเพื่อใช้ประมวลผล จัดประชุมชี้แจงการกรอกแบบประเมิน สำหรับกลุ่ม 55 ท่าน จัดประชุมเพื่อกรอกแบบประเมินสำหรับผู้ใต้บังคับบัญชาของกลุ่ม 55 ท่าน ผู้ประเมินกลุ่ม 55 ท่าน นำไปกรอกและหย่อนใส่ตู้ ประมวลผล/ทำรายงานส่วนบุคคล APM ให้ข้อมูลป้อนกลับส่วนบุคคล + แนะนำการทำแผนพัฒนา
8
การกำหนดผู้ประเมิน 360 องศา
ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้เข้าร่วมโครงการ: เสนอชื่อผู้ประเมินจากกลุ่มผู้ใต้บังคับบัญชาของตนจำนวนครึ่งหนึ่งจากทั้งหมด ผู้ดำเนินโครงการ: สุ่มเหลือ 5-7 ชื่อ กรณีมีผู้ใต้บังคับบัญชาในกลุ่มรองคณบดีและหัวหน้าภาคฯ ชื่อที่เสนอมาจากครึ่งหนึ่งของแต่ละกลุ่ม สุ่มกระจายตัวตามสัดส่วนระหว่างจำนวนผู้ใต้บังคับบัญชาในกลุ่มรองคณบดีและหัวหน้าภาคฯ
9
การกำหนดผู้ประเมิน 360 องศา
ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้ดำเนินโครงการ: สุ่มเหลือ 3-5 ชื่อ ตามสัดส่วนรองอธิการบดี: คณบดี/ผอ.กอง 1:4 ผู้เข้าร่วมโครงการ: เสนอชื่อผู้ประเมิน 10 ชื่อ (ระดับรองอธิการบดี 2 ชื่อ คณบดี/ผอ.กอง 8 ชื่อ*) หมายเหตุ: * มหิดลมีจำนวนรองอธิการบดี : คณบดี/ผอ.กอง = 11: 44 ~ 1:4
10
การกำหนดผู้ประเมิน 360 องศา
ผู้เข้าร่วมโครงการที่เป็นรองอธิการบดี 11 ท่าน: ประเมินโดยอธิการบดี ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้เข้าร่วมโครงการที่เป็น ผอ.กอง 10 ท่าน: ประเมินโดยรองอธิการบดีที่กำกับดูแล ผู้เข้าร่วมโครงการที่เป็น ผู้บริหารส่วนงาน 34 ท่าน: ขอหารือ ทางเลือก 1: ประเมินโดยอธิการบดีท่านเดียว ทางเลือก 2: ประเมินโดยอธิการบดีและรองอธิการบดี ทางเลือก 1: ประเมินโดยอธิการบดี ทางเลือก 2: ประเมินโดยอธิการบดีและรองอธิการบดี ข้อดี เป็นผู้บังคับบัญชาโดยตรง รับรู้การทำงานของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งภาพ ข้อเสีย เป็นภาระต่อท่านอธิการบดี ข้อดี ลดภาระของท่านอธิการบดี ข้อเสีย อาจรับรู้การทำงานของผู้เข้าร่วมโครงการเพียงบางด้าน/เรื่อง
11
ค่าเฉลี่ย เพื่อนร่วมงาน ค่าเฉลี่ยผู้ใต้บังคับบัญชา
การรักษาความลับ ความลับของผู้ประเมิน ผลการประเมินสรุปเป็นรายกลุ่มผู้ประเมิน: เพื่อนร่วมงาน ผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้บังคับบัญชา ไม่มีการแสดงชื่อหรือสืบกลับได้ว่าเป็นความเห็นของผู้ประเมินคนใด ไม่ว่ากรณีใดๆ ความลับของผู้ถูกประเมิน/ผลการประเมิน รายงานผลการประเมินรายบุคคลมีเพียงท่าน และอธิการบดีเท่านั้นที่ทราบ APM เป็นบริษัท Professional ที่ทำการประเมิน 360 องศา ให้กับองค์กรภาครัฐ/เอกชน ใหญ่/เล็ก ซึ่งการรักษาความลับของบุคลากรเป็นปณิธานสูงสุดของเรา ข้อมูลการประเมินทั้งหมดเก็บในไฟล์ที่มีการคุ้มกันความปลอดภัยเป็นอย่างดี การยึดมั่นในคุณธรรม ตนเอง ผู้บังคับ บัญชา ค่าเฉลี่ย เพื่อนร่วมงาน ค่าเฉลี่ยผู้ใต้บังคับบัญชา ค่าเฉลี่ยผู้อื่น แสดงความคิดเห็นตามหลักวิชาชีพอย่างเปิดเผยและตรงไปตรงมา 3.00 6.00 4.80 มีสัจจะ ทำตามสิ่งที่ยึดถือและพันธสัญญาที่ท่านให้ไว้กับผู้อื่น และทำทุกวิถีทางเพื่อรักษาคำพูดของท่าน 4.00 3.80
12
แผนการดำเนินงาน 1 ออกแบบแบบประเมิน 360 องศา APM 1 สัปดาห์ 2
กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม 25-29 1 - 5 8 -12 1 - 3 6 - 10 13- 17 1 ออกแบบแบบประเมิน 360 องศา APM 1 สัปดาห์ 2 สื่อสารขอความร่วมมือ มหิดล/APM 3 ผู้เข้าร่วมโครงการเสนอชื่อผู้ประเมิน มหิดล 4 จัดประชุมกรอกแบบประเมิน + รวบรวมจนครบ 2 สัปดาห์ 5 ประมวลผล/จัดทำรายงาน 6 ให้ข้อมูลป้อนกลับรายบุคคล
13
เกณฑ์การประเมิน 360 องศา การมองภาพองค์รวม + การตัดสินใจ
Altruism การดำเนินการเชิงรุก + การตัดสินใจ + การวิเคราะห์ +การแก้ปัญหา การวางแผนงานอย่างเป็นระบบ Determination การมุ่งผล สัมฤทธิ์ ศิลปะการสื่อสารจูงใจ ความรับผิดชอบในงาน การแก้ปัญหาและตัดสินใจด้วยความรับผิดชอบและมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ศักยภาพเพื่อนำ การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การแสดงบทบาท ผู้นำทีมที่ผู้อื่นยินดีปฏิบัติตาม การยึดมั่นในคุณธรรม วิสัยทัศน์และการมุ่งเน้นกลยุทธ์ การพัฒนาศักยภาพบุคคล การสื่อสารอย่างมีศิลปะและจูงใจ Originality + เครือข่าย Harmony ศักภาพที่นำการปรับเปลี่ยน การพัฒนาศักยภาพคน + การพัฒนาปรับ ปรุงอย่างต่อเนื่อง Leadership Integrity การให้อำนาจแก่ผู้อื่น ความเป็นผู้นำ ความยึดมั่นในคุณธรรม การทำงาน เป็นทีม Values Mastery Core Competency การควบคุมตนเอง การมีวิสัยทัศน์ การคิดเชิง กลยุทธ์ Managerial Competency 360 Feedback Criteria
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.