งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557

2 ประเด็นนำเสนอ การจัดทำตัวชี้วัดการประเมินผลปีงบประมาณ 2557
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการข้าราชการและพนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557

3 การจัดทำตัวชี้วัดการประเมินผล ปีงบประมาณ 2557
การพิจารณาสมรรถนะให้เป็นเรื่องเดียวกัน (Core value ,Core competency : Technical competency, Function competency) ปรับตัวชี้วัดให้เป็นรูปธรรม ที่ผ่านมาเป็นนามธรรม ตัวชี้วัดมีจำนวนมากแต่ละข้อความเป็นคะแนนย่อยหลายตัว ผู้ประเมินใช้เวลามากกับวิธีประเมินเดิม ส่วนใหญ่ใช้การตัดสินใจมากกว่าประเมินจากตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ ตัวชี้วัดที่กำหนดขึ้นใหม่ในแต่ละ Level เห็นทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ผู้ที่จะได้คะแนน4,5 ต้องมีคุณภาพที่เกิดจากมีสมรรถนะนั้นๆจริงๆ ไม่เพิ่มงาน ไม่ยุ่งยากในการวัด สามารถเก็บจากงานที่ทำอยู่ เสริมงานปกติและงานที่ตอบตัวชีวัดในยุทธศาสตร์ของกรม และที่ กพร. กำหนดให้หน่วยงานของกรมต้องพัฒนาอยู่แล้วให้มีคุณภาพมากขึ้น

4 การจัดทำตัวชี้วัดการประเมินผล ปีงบประมาณ 2557 (ต่อ)
ถ้าระบบประเมินของกรมสามารถผ่านระบบ online บางตัวต้องปรับตัวชี้วัด และพัฒนาตัวชี้วัดจากการวัดความรู้ ในการจัดทำ e-learning หรือวัดความพึงพอใจอย่างเป็นระบบจึงจะเหมาะสม ตัวชี้วัดแต่ละสมรรถนะเชื่อมโยงส่งผลต่อกัน แม้ตัวชี้วัดเหล่านี้ไปผูกกับคะแนนรวมของการเลื่อนขั้นเงินเดือนแต่เป็น% ที่น้อย แต่สามารถแยกผู้ดีเด่น ได้อย่างชัด

5 หลักเกณฑ์และวิธีประเมินของกรมควบคุมโรค
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท หลักเกณฑ์และวิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ข้าราชการ หลักเกณฑ์และวิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการของ พนักงานราชการ

6 สาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีประเมินฯ
รอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ วิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการ องค์ประกอบและสัดสวนน้ำหนักคะแนน มาตรวัดสมรรถนะ แบบฟอร์มการประเมิน รายละเอียดสมรรถนะ และตัวชี้วัด

7 รอบประเมินผลการปฏิบัติราชการ
รอบที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 31 มีนาคม 2557 รอบที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2557 ถึง 30 กันยายน 2557

8 ผู้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ
อธิบดี รองอธิบดี ผู้อำนวยการ รองอธิบดี ผู้ทรงคุณวุฒิ หัวหน้าหน่วยงานที่ขึ้นตรงฯ ผู้อำนวยการที่อยู่ในความรับผิดชอบ ข้าราชการและพนักงานราชการที่อยู่ในบังคับบัญชา ข้าราชการจากหน่วยงานอื่นภายในกรมเดียวกันที่มาปฏิบัติราชการอยู่ด้วย * อาจจัดทำหนังสือมอบหมายผู้บังคับบัญชาอื่นๆ ให้ประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการที่อยู่ในบังคับบัญชา

9 วิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการ
วิธีประเมินให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารงานบุคคลหน่วยงาน และต้องเป็นวิธีเดียวกันทั้งหน่วยงาน โดยอย่างน้อยให้ผู้รับการประเมินประเมินตนเองก่อน แล้วจึงสรุปผลการประเมินร่วมกับผู้ประเมิน

10 องค์ประกอบและสัดส่วนน้ำหนักคะแนน
ผลสัมฤทธิ์ ของงาน 80 คะแนน สมรรถนะ 20 คะแนน *กรณีอยู่ระหว่างทดลองราชการ : 1. ผลสัมฤทธิ์ของงาน = ร้อยละ 50 2. พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ = ร้อยละ 50

11 องค์ประกอบที่ 1 : ผลสัมฤทธิ์ของงาน
งานตามยุทธศาสตร์ สัดส่วนน้ำหนักคะแนน ให้อยู่ในดุลยพินิจของหน่วยงาน หรือผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ของงาน 80 คะแนน งานตามภารกิจ งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย

12 องค์ประกอบที่ 2 : พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ
I = 2 คะแนน S = 2 คะแนน Core competency 12 คะแนน M = 2 คะแนน A = 2 คะแนน สมรรถนะ 20 คะแนน R = 2 คะแนน T = 2 คะแนน Functional competency 8 คะแนน หลักระบาดวิทยา 1)...4 คะแนน การวิจัยและพัฒนา 2)...4 คะแนน การติดตามและประเมินผล ให้ผู้บังคับบัญชา และผู้ปฏิบัติงานตกลง เลือก ประเมิน Functional competency 2 ตัว จาก 3 ตัว

13 องค์ประกอบที่ 2 : พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ(ต่อ)
รายละเอียดสมรรถนะ จำนวน 9 สมรรถนะ สมรรถนะหลัก (Core competency) 1) การยึดมั่นในความถูกต้อง (Integrity : I) 2) บริการที่ดี (Service Mind : S) 3) การสั่งสมความเชี่ยวชาญ (Mastery : M) 4) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation : A) 5) การมีน้ำใจเปิดกว้างเป็นพี่เป็นน้อง(Relationship : R) 6) การทำงานเป็นทีม (Teamwork : T) สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจกรมควบคุมโรค (functional competency) 1) หลักระบาดวิทยา 2) การวิจัยและพัฒนา 3) การติดตามและประเมินผล

14 จัดทำพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะ คณะทำงานจัดทำหลักเกณฑ์และวิธีประเมินสมรรถนะ
องค์ประกอบที่ 2 : พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ(ต่อ) สมรรถนะหลัก : มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับค่านิยมกรมควบคุมโรค อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม จัดทำพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะ คณะทำงานจัดทำหลักเกณฑ์และวิธีประเมินสมรรถนะ นโยบายอธิบดีกรมควบคุมโรค Functional Competency : เป็นกรอบมาตรฐานในการประเมินและพัฒนาสมรรถนะบุคลากรกรมควบคุมโรค กำหนดเกณฑ์การประเมินสมรรถนะ

15 มาตรวัดสมรรถนะ ตัวอย่าง : ผลการประเมินสมรรถนะหลักของผู้ถูกประเมินระดับชำนาญการ ซึ่งมีระดับที่คาดหวังอยู่ใน ระดับที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 : ประเมินสมรรถนะตามพฤติกรรมบ่งชี้ตั้งแต่ระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวัง (โดยประเมินพฤติกรรมตามเกณฑ์การประเมินที่กรมควบคุมโรคกำหนด) 3 0.6 5 1 1.6

16 มาตรวัดสมรรถนะ (ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 นำผลการประเมินแต่ละระดับมารวมกัน และนำไปบันทึกในแบบ “ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติการหรือสมรรถนะ” ในช่อง “คะแนนที่ได้ (Y)” แล้วจึงนำไปคูณกับช่อง “น้ำหนัก (Z)” แล้วหารด้วย “ระดับสมรรถนะที่คาดหวัง (X)” แล้วนำคะแนนที่ได้ไปใส่ในช่อง “คะแนนถ่วงน้ำหนัก (ค2)” 2 1.6

17 แบบฟอร์มการประเมิน แบบ ข.1 ข้าราชการทุคน แบบ พ.1 พนักงานราชการทุกคน

18 แบบฟอร์มการประเมิน (ต่อ)
หน้า 1 = แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ หน้า 2 = การรับทราบผลการประเมิน และความคิดเห็นเพิ่มเติม หน้า 3 = แบบมอบหมายงาน หน้า 4 = แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน หน้า 5 = แบบติดตามผลการปฏิบัติงาน หน้า 6 = แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ * และเอกสารประกอบการประเมินสมรรถนะ

19 รายละเอียดสมรรถนะ และตัวชี้วัด
พิจารณาจาก slide คำถามและข้อเสนอแนะ

20 Thank You!


ดาวน์โหลด ppt หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google