งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน
โครงการ การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน

2 4. ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ
ตามที่ สำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ก่อสร้างอาคารตลาดสามย่านแห่งใหม่ เป็นอาคาร 2 ชั้น 4 ไร่ มีพื้นที่จอดรถประมาณ 120 คัน และเปิดบริการตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน โดยที่ในแต่ละวันมีผู้มาใช้บริการในตลาดสามย่านแห่งใหม่เป็นจำนวนมาก ทำให้พื้นที่จอดรถของตลาดไม่เพียงพอต่อผู้มาใช้บริการ ผู้มาใช้บริการไม่พึงพอใจด้านการจราจรในตลาดสามย่าน จึงต้องมีการพัฒนาให้บริการที่รวดเร็ว ประทับใจ และจัดหาพื้นที่จอดรถเพิ่มเติมแก่ผู้เช่าและผู้มาใช้บริการ

3 5. เป้าหมายการพัฒนา 5.1 ให้บริการด้านจราจรในตลาดสามย่านอย่างมีระบบ และมี ประสิทธิภาพ 5.2 ผู้มาใช้บริการเกิดความประทับใจ

4 ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
5.1 อัตราความพึงพอใจแก่ผู้เช่าและผู้มาใช้บริการด้านการจัด จราจรในตลาดสามย่าน 5.2 ลดระยะเวลาในการหาที่จอดรถ

5 ขอบเขตของโครงการ ระยะเวลาดำเนินงาน
บริหารจัดหาพื้นที่จอดรถโดยรอบตลาดสามย่าน ระยะเวลาดำเนินงาน ระยะเวลาเริ่มต้น วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ตุลาคม รวม 10 เดือน

6 ลูกค้าไม่พึงพอใจพื้นที่จอดรถไม่เพียงพอ
ป้ายบอกพื้นที่จอดข้างเคียง ที่จอดรถน้อย ที่จอดรถยนต์ 120 คัน การบริการของ พนักงานจัดจราจร ไม่มีใครบอกให้ทำ รถจักรยานยนต์/รถจักรยาน ไม่ได้นับพื้นที่จอดรถว่าง ไม่รู้ว่าต้องทำอะไร ลูกค้าไม่พึงพอใจพื้นที่จอดรถไม่เพียงพอ ไม่เพียงพอ ไม่มีแผนงาน ต้องการจอดรถหน้าบ้าน ไม่มีการตรวจ เช็คจำนวนพนักงาน ชำรุด/ไม่ซ่อมแซม ไม่มีคู่มือการทำงาน กันพื้นที่ให้ลูกค้าหน้าบ้าน อุปกรณ์วิทยุสื่อสาร พนักงานจราจรไม่บอก การบริหารจัดการพื้นที่จอดรถ ของบริษัทจัดจราจร พนักงานจราจรกลัวถูกว่า อาคารพาณิชย์กับพื้นที่จอดรถ

7 การปรับปรุงแก้ไขที่ได้ดำเนินการ
(Action Plane) สาเหตุ การปรับปรุงแก้ไขที่ได้ดำเนินการ พื้นที่จอดรถน้อย จัดหาพื้นที่จอดรถข้างเคียงรองรับ ได้แก่ 1)จอดรถจามจุรี 9 กว่า 800 คัน โดยทำสะพานทางเชื่อมระหว่างอาคารจอดรถกับตลาดสามย่าน 2) พื้นที่จอดรถโดยรอบ U-center 1 -2 2. การบริการของพนักงานไม่ประทับใจ/ไม่รวดเร็ว รู้ว่าพื้นที่จอดรถว่างมีกี่ช่องที่สามารถจอดรถได้ จัดพื้นที่จอดรถให้ลูกค้าภายใน นาที ตรวจเช็คพนักงานจราจรให้ประจำจุดครบ 3. ไม่มีป้ายบอกทางไปพื้นที่ จอดข้างเคียง ทำป้ายบอกพื้นที่จอดรถข้างเคียง และแผนที่ - แจกแผ่นประชาสัมพันธ์กรณีพื้นที่จอดรถเต็ม

8 การปรับปรุงแก้ไขที่ได้ดำเนินการ
(Action Plane) สาเหตุ การปรับปรุงแก้ไขที่ได้ดำเนินการ 4. อุปกรณ์วิทยุสื่อสารชำรุด/ ไม่เพียงพอ ซ่อมแซม จัดหาอุปกรณ์เพิ่ม 5. อาคารพาณิชย์กันพื้นที่จอดรถ ทำหนังสือแจ้งขอความร่วมมือ ห้ามจองพื้นที่จอดรถหน้าอาคาร 6. การบริหารงานของบริษัทจราจร จัดทำคู่มือ - จัดทำแผนงาน

9

10

11

12

13

14

15

16

17 ความพึงพอใจของผู้เช่า ในการใช้พื้นที่จอดรถ
ผลลัพธ์ ความพึงพอใจของผู้เช่า ในการใช้พื้นที่จอดรถ ปี 2553 ปี 2554 ร้อยละ * ความสะดวกในการ จราจร 56.8 70.1 * ความสะดวกในการจอดรถ 55 76.2

18 ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ในการใช้พื้นที่จอดรถ
ผลลัพธ์ ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ในการใช้พื้นที่จอดรถ ปี 2553 ปี 2554 ร้อยละ * ความสะดวกในการ จราจร 66.0 77.5 * ความสะดวกในการจอดรถ 63.4 74.2

19 ผลลัพธ์ ลดระยะเวลา ในการหาพื้นที่จอดรถ เดิม ปัจจุบัน
* ระยะเวลาหาที่จอดรถ 10 – 15 นาที 3 – 5 นาที

20


ดาวน์โหลด ppt การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google