งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

2 การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนComputerAssisted Instruction (CAI) เรื่อง Passive Voice สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

3 นักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นหลังจากที่เรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้น โดยมีคะแนนเฉลี่ยหลังการเรียน (Posttest) สูงกว่าคะแนนก่อน การเรียน (Pretest) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ และพบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีค่าเท่ากับ 80.73/81.05 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ที่ผู้วิจัยได้กำหนดไว้ที่ 80/80

4 80 ตัวแรก คือ ค่าคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้จาการทำแบบทดสอบภายในบทเรียนได้ถูกต้อง หลังจากที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยได้คะแนนเฉลี่ยทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ ตัวหลัง คือ จำนวนนักเรียนที่ผ่านการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร้อยละ 80 ที่ได้ค่า คะแนนจากการทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ 80 ขึ้นไป

5 จากการสอบถามถึงความพึงพอใจที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน พบว่า นักเรียนมีความพึง พอใจในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในระดับปานกลางถึงมากที่สุด แสดงให้เห็นว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง Passive Voice มีประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ มาตรฐาน และช่วยให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง Passive Voice เพิ่มขึ้น จึงเหมาะสมที่ จะนำไปใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน หรือศึกษาด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

6 เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง Passive Voice ที่ได้สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ ตรงตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ จึงควรนำไปใช้ประกอบการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ต่อไป โดยใช้ในการเรียนในชั้นเรียน หรือนอกเวลาเรียน โดย ให้นักเรียนสามารถเรียนด้วยตนเองได้ที่ห้อง Sound Lab รวมทั้งสามารถนำไปใช้ทดลองเรียนกับ นักเรียนในระดับชั้นอื่น ๆ หรือในการศึกษานอกระบบโรงเรียนได้

7 ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 1
ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาหรือวิจัย ในด้านความคงทนของการจำของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้น โดยเปรียบเทียบกับสื่อการสอนชนิดอื่น ๆ 2. สามารถใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นนี้ เป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนในเนื้อหาวิชาอื่น ๆ

8 ผังความคิด ADDIE model นวัตกรรม

9 ขั้นการวิเคราะห์ ขั้นการออกแบบ ขั้นการพัฒนา
ใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ ๕ ปีการศึกษา ๑๕๔๓จำนวน๒๕๐คน เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)เรื่องPassive Voice ขั้นการออกแบบ ใช้คอมพิวเตอร์ในการนำเสนอบทเรียนมีลักษณะเป็นการนำเสนอสื่อผสม ได้แก่ข้อความภาพนิ่ง กราฟฟิก แผนภูมิ กราฟ ภาพเคลื่อนไหว วิดีทัศน์และเสียง โครงสร้างเนื้อหาดึงดูดความสนใจและกระตุ่นผู้เรียนให้เกิดความต้องการที่จะเรียนรู้ ขั้นการพัฒนา สื่อการศึกษาในลักษณะตัวต่อตัว เกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งได้รับผลป้อนกลับในด้านเนื้อหาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการเรียนตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี และตรวจความเข้าใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา

10 ขั้นการนำไปใช้ ขั้นการประเมิน
1. ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเริ่มบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Pretest) ประมาณ 30 นาที 2. อธิบายให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างเข้าใจถึงวัตถุประสงค์และวิธีการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาที 3. ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง Passive Voice และทำแบบ ฝึกหัด โดยใช้เวลาในการทดลอง 50 นาที 4. หลังจากเรียนเสร็จแล้ว ให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใช้เวลา 30 นาที ขั้นการประเมิน การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยเปรียบเทียบผลคะแนน การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาษาอังกฤษ เรื่อง Passive Voice โดย กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน 80/80จากร้อยละของผลเฉลี่ยคะแนนการทำงานและประกอบกิจกรรมของผู้เรียนทั้งหมด

11 ที่มา search=%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8 %B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9&- action=browse&q=thaied_results&-cursor=97&-skip=90&-limit=30&-mode=list&- recordid=thaied_results%3Fid%3D6850

12 โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์
จัดทำโดย นางสาว อัมรินทร์ มีผล โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์


ดาวน์โหลด ppt สื่อที่สร้างด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google