งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แมลงกินได้ Edible insects

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แมลงกินได้ Edible insects"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แมลงกินได้ Edible insects
NR. แมลงกินได้ Edible insects

2 NR.

3 ตารางที่ 1 ชนิดของแมลงที่มีการบริโภคทั่วโลก
NR. ตารางที่ 1 ชนิดของแมลงที่มีการบริโภคทั่วโลก จำแนกตาม Order จำนวน Species Coleoptera 344 Hymenoptera 313 Lepidoptera 235 Orthoptera 209 Hemiptera 92 Isoptera 39 Blattodea 30 Odonata 20 Ephemeroptera 7 Mecoptera 4 Phthiraptera 3 Diptera ดัดแปลงจาก: Ramos-Elorduy (1998)

4 ตารางที่ 2 จำนวนผู้บริโภคแมลงในแต่ละทวีป
NR. ตารางที่ 2 จำนวนผู้บริโภคแมลงในแต่ละทวีป Continent # of species recorded % of total # of entomophagous countries Africa 527 36.0 36 31.9 America 573 39.2 23 20.1 Asia 249 17.0 29 25.7 Australia 86 5.9 14 12.5 Europe 27 1.9 11 9.7 Total 1,462 (some occur on >1 continent) 100.0 113 ที่มา: Ramos-Elorduy (1998)

5 ตารางที่ 3 คุณค่าทางโภชนาการใน 100 กรัมของแมลงเปรียบเทียบกับเนื้อสัตว์
NR. ตารางที่ 3 คุณค่าทางโภชนาการใน 100 กรัมของแมลงเปรียบเทียบกับเนื้อสัตว์ สารอาหาร จิ้งหรีด เนื้อสัตว์ พลังงาน 121calories 288.2 calories โปรตีน 12.90 gm protein 23.50 gm ไขมัน 5.50 gm of fat 21.20 gm of fat แคลเซียม 75.80 mg - ฟอสฟอรัส mg เหล็ก 9.50 mg B1 (thiamin) 0.36 mg B2 (riboflavin) 1.09 mg ไอนาซิน 3.10 mg คาร์โบไฮเดรต 5.10 gm ที่มา : ดร. องุ่น ลิ่ววานิช (มปป, อ้างถึงใน สุรเชษฐ จามรมาน และคณะ, มปป.)

6 NR. มนุษย์บริโภคแมลงเป็นอาหารจากสมัยก่อนจนถึงปัจจุบันน่าจะมาจากวัฒนธรรมการบริโภค และภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอดต่อกันมาตามสภาวะเศรษฐกิจ หรือเพื่อหาแหล่งอาหารที่อุดมไปด้วยคุณค่ามาทดแทนเนื้อสัตว์ที่มีราคาแพง เนื่องจากแมลงหาง่าย และอาจมาจากความติดใจในรสชาติที่อร่อย

7 พฤติกรรมการบริโภคแมลงของประเทศต่างๆ
NR.  พฤติกรรมการบริโภคแมลงของประเทศต่างๆ

8 อเมริกา ผัด 1. จิ้งหรีด 2. ตัวอ่อนของมด คุกกี้ช็อกโกแลตชิพ
1. จิ้งหรีด 2. ตัวอ่อนของมด ทำแป้งจากแมลง ผัด

9 ตัวอ่อนแมลงน้ำ ตัวอ่อนของต่อ ตั๊กแตน
เอเชีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ บาหลี ตัวอ่อนแมลงน้ำ ตัวอ่อนของต่อ ตั๊กแตน June beetle แมลงปอ

10 รูปที่ 2. inago ที่มา : รูปที่ 1. zaza –mushi ที่มา : รูปที่ 3. June beetles ที่มา :

11 ออสเตรเลีย รูปที่ 4. มดแดง Oecophylla
ที่มา : รูปที่ 5. Bogong ที่มา :

12 ออสเตรเลีย (ต่อ) รูปที่ 6. ตัวหนอน witchety
ที่มา : รูปที่ 7. มด honey pot ที่มา :

13 แอฟริกา ไนจีเรีย รูปที่ 8. ราชินีปลวก
ที่มา : ไนจีเรีย รูปที่ 9. Cirina forda westwood larva ที่มา :

14 อเมริกาใต้ รูปที่ 10. โคลัมเบีย มดยักษ์ (Hormigas culonas)
ที่มา : รูปที่ 11. เม็กซิโกมีมด (Atta cephalotes) ที่มา :

15 เอกวาดอร์ อเมริกาใต้ ( ต่อ)
รูปที่ 12. ด้วงสีขาว (Scarabaeidae : Cyclocephala) ที่มา : รูปที่ 13. Lemon ants ที่มา :

16 NR. นอกจากนั้นก็ยังมีการซื้อขายผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับแมลงกินได้ทางอินเตอร์เน็ต

17 NR. ตารางที่ 4 ปริมาณคอเลสเตอรอล  และกรดไขมันของแมลงที่กินได้ในน้ำหนักส่วนที่รับประทานได้ 100  กรัม แมลง Chol(**) (mg) Fat (g) SFA MUFA PUFA (% fatty  acid) จิ้งโกร่ง ND 12.0 35.02 32.34 29.56 จิ้งหรีด 105 6.0 36.45 30.12 31.14 ดักแด้ไหม 8.3 70.36 19.81 9.35 ตั๊กแตนปาทังก้า 66 4.7 31.06 28.75 39.32 ตัวอ่อนของต่อ 6.8 45.98 40.39 12.64 แมลงกินูน 56 1.8 33.33 30.02 32.36 แมงป่อง 97 2.3 28.99 43.30 20.98 หนอนไม้ไผ่ 34 20.4 48.71 46.86 2.86 **      = Cholesterol ND = Not Detected ที่มา: นันทยา  และคณะ ( มปป.)

18 อันตรายที่อาจเกิดจากการบริโภคแมลงแบบดิบ
N อันตรายที่อาจเกิดจากการบริโภคแมลงแบบดิบ แมลงน้ำ พยาธิใบไม้ลำไส้ตัวเล็กชนิด   Phaneropsolus bonei และ Prosthodendium molenkampi ด้วงและแมลงปีกแข็ง ที่อาศัยตามกองมูลควายGongylonema,  Macracanthorhynchus hirudinaceus pallas และ Raillientin cesticillus 

19 อันตรายที่อาจเกิดจากการบริโภคแมลงแบบดิบ(ต่อ)
NR. อันตรายที่อาจเกิดจากการบริโภคแมลงแบบดิบ(ต่อ) แมลงกินูน หรือแมลงเหนี่ยง  พาหะนำเชื้อ Macracanthorhynchus hirudinaceus  จิ้งหรีด พาหะนำเชื้อพยาธิตัวกลมชนิด Physaloptera caucasica Linstow  

20 เลือกบริโภคแมลงอย่างไรจึงจะปลอดภัย
NR. เลือกบริโภคแมลงอย่างไรจึงจะปลอดภัย เป็นแมลงที่เป็นที่รู้จักและนำมาบริโภคได้ เป็นแมลงที่จับมาขณะยังมี่ชีวิตอยู่ ควรจะหลีกเลี่ยงแมลงที่เป็นศัตรูภายในบ้านที่เป็นพาหะของโรค ต่างๆ ควรหลีกเลี่ยงแมลงที่มีสีสันสดใส ปีก ขน ขา หรือ หนามแข็งของแมลง ควรจะเด็ดทิ้งก่อนนำไป บริโภค ควรจะปรุงอาหารให้สุกก่อนรับประทานเสมอ

21 ตารางที่ 5 ปริมาณไฮโดรไซยาไนด์ เซฟวินในแมลงแต่ละชนิด
NR. ตารางที่ 5 ปริมาณไฮโดรไซยาไนด์ เซฟวินในแมลงแต่ละชนิด ชื่อของแมง ไฮโดรไซยาไนด์ เซฟวิน สด ปรุงเป็นอาหาร จิ้งหรีด จิหล่อ แมลงกระชอน 0.541 0.19 trace แมลงตับเต่า แมลงเหนี่ยง 0.211 0.124 แมลงกินูนเขียว 0.137 แมลงกินูนขาว แมลงกินูนดำ 0.075 0.032 แมลงกินูนเล็ก กุดจี่ใหญ่ 0.302 0.174 กุดจี่ 0.361 0.196 0 = วัดค่าไม่ได้ Trace = น้อยกว่า 0.3 ppm. ที่มา: อุษา กลิ่นหอม และคณะ (2528)

22 NR. สรุป การบริโภคแมลงในแต่ละภูมิภาคทั่วโลกมีความหลากหลายและแตกต่างกัน ปัจจัยหลักของการบริโภคแมลงคือความต้องการแหล่งอาหารประเภทโปรตีน โดยจากการศึกษาหาโปรตีนในแมลงชนิดต่างๆ พบว่าแมลงมีปริมาณของโปรตีนเทียบเท่ากับเนื้อสัตว์ จึงสามารถนำแมลงมาทดแทนอาหารประเภทเนื้อชนิดอื่นๆได้ ทำให้มนุษย์ที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลและขาดแคลนแหล่งสารอาหารโปรตีนมีทางเลือกทางใหม่ที่สามารถหาได้จากท้องถิ่นและมีราคาถูก แต่เพื่อการยกระดับแมลงให้เป็นอาหารที่เทียบเท่ากับเนื้อสัตว์ได้อย่างสมบูรณ์นั้น ผู้บริโภคจะต้องมีความเอาใจใส่ในเรื่องของความสะอาดและการปรุงให้สุกก่อนจะนำมารับประทาน เพื่อทำให้สารเคมีหรือปาราสิตที่มีอยู่ในแมลงลดลง ทำให้ได้รับสารอาหารจากแมลงเต็มที่ และมีความปลอดภัยอีกด้วย

23 นางสาวศิริกาญจน์ เพ็ชรจำรัส 4740242 อาจารย์ที่ปรึกษา
NR. โดย นางสาวศิริกาญจน์ เพ็ชรจำรัส อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.สุรไกร เพิ่มคำ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โทร


ดาวน์โหลด ppt แมลงกินได้ Edible insects

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google