งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
โดย คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาณครินทร์ และ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

2 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

3 ศูนย์ส่วนกลางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กทม.
ศูนย์ฯ ภาคเหนือ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่ ศูนย์ฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น ศูนย์ฯ ภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก ศูนย์ฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี ศูนย์ฯ ภาคกลาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม ศูนย์ส่วนกลางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กทม. ศูนย์ฯ ภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จ.สงขลา

4 แผนผังโครงสร้างงานบริหาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ภารกิจสร้างเศรษฐกิจและสันติสุข คณะอนุกรรมการบริหาร ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ คณะทรัพยากรธรรมชาติ รองคณบดีฝ่ายพัฒนา ศูนย์ฯ ส่วนกลาง ศูนย์ฯ ภาคใต้ กลุ่มงานศูนย์วิจัย ฝ่ายวิจัยและบริการ ศูนย์ฯ ภาคอื่น ๆ ธุรการ วิจัย

5 งานและบุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้
หัวหน้าโครงการวิจัย รศ.ดร.จิราพร เพชรรัตน์ ผู้อำนวยการศูนย์ น.ส.อรอนงค์ เพชรนก พนักงานธุรการ

6 งานและบุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้
งานวิจัยเกี่ยวกับแมลงศัตรูธรรมชาติและแมลงศัตรูพืช รศ.ดร.จิราพร เพชรรัตน์ ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงแมลง น.ส.ยาวารียะห์ สาเมาะ หัวหน้าโครงการ นักกีฏวิทยา

7 งานและบุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้
งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคพืช น.ส.ปวีณา สังข์แก้ว ผศ. เสมอใจ ชื่นจิตต์ ผู้ช่วยวิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย ห้องปฏิบัติการโรคพืช ภาควิชาการจัดการโรคพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มอ.

8 งานและบุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้
งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคพืช ห้องปฏิบัติการทางจุลินทรีย์ รศ.ดร.วสันณ์ เพชรรัตน์ หัวหน้าโครงการวิจัย นายไสว บัวแก้ว ผู้ช่วยวิจัย

9 งานและบุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้
งานวิจัยเกี่ยวกับการใช้จุลินทรีย์ดินควบคุมโรค และส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ห้องปฏิบัติการจุลินทรีย์ดิน ภาควิชาธรณีศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มอ. รศ.ดร. อัจฉรา เพ็งหนู หัวหน้าโครงการวิจัย น.ส.วานิด รอดเนียม นักวิชาการเกษตร

10 บุคลากรศูนย์ฯ ภาคใต้ น.ส.สายฝน แซ่ตั่น คนงานเกษตร นายเป็นหนึ่ง ทองปาน

11 โครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ 2552
เงินงบประมาณประจำปี 2552 1,045,400 บาท 6 โครงการวิจัย

12 โครงการวิจัยของศูนย์ฯ ภาคใต้
การติดตามสถานการณ์และการประเมินประสิทธิภาพศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืช และวัชพืชในภาคใต้ของประเทศไทย โครงการที่ 1 โครงการที่ 2 การประเมินการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคใบร่วง Phytopthora ของกล้ายางพารา

13 โครงการวิจัยของศูนย์ฯ ภาคใต้
การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์เพื่อควบคุมโรคที่ เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายบริเวณรากพืชที่ปลูกใน ระบบไฮโดรโพนิกส์ โครงการที่ 3 โครงการที่ 4 การแยกและคัดเลือกเชื้อรา Trichoderma spp. เพื่อใช้ควบคุมเชื้อ Ganoderma spp. สาเหตุโรคลำต้นเน่าของปาล์มน้ำมัน

14 โครงการวิจัยของศูนย์ฯ ภาคใต้
โครงการที่ 5 การประเมินผลศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูลองกองและการควบคุมโดยชีววิธี โครงการที่ 6 การใช้ศัตรูธรรมชาติในการจัดการแมลงศัตรูศัตรูพืชวงศ์กะหล่ำในเขตภาคใต้ของ ประเทศไทย

15 ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตพริกของจังหวัดสงขลาเพื่อการส่งออก คณะทรัพยากรธรรมชาติ การปลูกพริกอินทรีย์ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 12 ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดสงขลา ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช ฯ ภาคใต้ สำนักงานเกษตรอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

16 ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้
บริการความรู้เกี่ยวกับการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี ในงาน PSU TOUR 2552

17 ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มอ.
จัดนิทรรศการงานเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 17 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มอ.

18 ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุม โรครากขาวของยางพาราและการเพาะเลี้ยงแมลงศัตรูธรรมชาติ

19 ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้
อบรมการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรครากขาวของยางพาราและการควบคุมโดยศัตรูธรรมชาติ สถานีวิจัยคลองหอยโข่ง

20 ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้
ปล่อยแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงเกษตรกร สวนคุณอุษา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา สวนคุณอุไรวรรณ สุขเอียด อำเภอคลองสะเดา จังหวัดสงขลา

21 ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้
อบรมเรื่องพื้นฐานการถ่ายภาพมาโคร และการถ่ายภาพตัวอย่างทางกีฏวิทยาและโรคพืชวิทยา นักศึกษาปริญญาโท สาขากีฏวิทยาและโรคพืชวิทยา จำนวน 15 คน

22 ภาระงานของศูนย์ฯ ภาคใต้
บริการวิชาการแก่นักศึกษา นักศึกษาปริญญาตรี ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช จำนวน 7 คน นักศึกษาปริญญาโท จำนวน 10 คน โรคพืชวิทยา คน กีฏวิทยา คน ธรณีศาสตร์ คน เทคโนโลยีชีวภาพ 1 คน นักศึกษาปริญญาเอก คณะเภสัชศาสตร์ จำนวน 1 คน

23


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืช โดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google