งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การแกว่ง ตอนที่ 2.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การแกว่ง ตอนที่ 2."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การแกว่ง ตอนที่ 2

2 การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 1
ถ้าความถี่เท่ากัน และเฟสตรงกัน

3 การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 2
ถ้าความถี่เท่ากัน และเฟสตรงกันข้าม

4 การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 3
ถ้าความถี่ต่างกัน และเฟสตรงกัน อัมปลิจูดเท่ากัน อัมปลิจูดรวม

5 ตัวอย่างกรณีนี้ การเกิดบีตส์ของคลื่นเสียง
ตัวอย่างกรณีนี้ การเกิดบีตส์ของคลื่นเสียง ซึ่งเกิดเมื่อคลื่นเสียง 2 ขบวนความถี่ต่างกันเล็กน้อย( ไม่มากกว่า 7 Hz) รวมกัน ดูโปรแกรมคอมพิวเตอร์

6 การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 4
ถ้าความถี่ อัมปลิจูด มุมเฟสตรงกัน

7 การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 5
ถ้าความถี่ เท่ากัน มุมเฟสตรงกัน 90

8 การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 6
ถ้าความถี่ เท่ากัน มุมเฟสตรงกัน 90

9 การรวมหรือซ้อนกันของ S.H.M สองอัน กรณีที่ 7
ถ้าความถี่ เท่ากัน มุมเฟสตรงกัน 45

10 กรณีอื่น ๆ ให้ดูจากตารางที่ 6.14 ในหนังสือฟิสิกส์ 2 ของจุฬาลงกรณ์

11 การแกว่งที่ถูกหน่วง(Damp Oscillation)
เป็นการแกว่ง หรือ สั่น ที่อัมปลิจูดลดลงเรื่อย ๆ เนื่องจากพลังงานลดลง เนื่องจากมีแรงต้าน

12 สมการขนาดการกระจัด ของการแกว่งที่ถูกหน่วง
ค่าคงที่ของแรงต้าน

13

14 ความถี่ธรรมชาติ (Natural frequency)
คือ ความถี่กี่สั่นหรือแกว่งโดยอิสระ ของอนุภาค หลังจากถูกกระตุ้นด้วยแรงภายนอก การแกว่งของชิงช้าหลังจากถูกผลัก

15 การแกว่งเนื่องจากถูกแรงบังคับ
แรงคืนตัว แรงหน่วง

16 วิเคราะห์จะพบว่า อนุภาคจะแกว่งแบบหน่วง ด้วยความถี่เท่ากับความถี่ของแรงภายนอก และอัมปลิจูดคงที่ โดยอนุภาคจะสูญเสียพลังงานให้ตัวกลางตลอดเวลา เท่ากับ พลังงานที่รับจากแรงภายนอก ขึ้นกับอัมปลิจูดและความถี่ของแรงภายนอก คงที่ พลังงานให้ พลังงานเสีย

17 จะแกว่งด้วยอัมปลิจูดมากสุดเมื่อ
และเมื่อแรงภายนอกที่มีอัมปลิจูดคงที่ แต่ความถี่เปลี่ยนแปลง มากระทำต่ออนุภาค พบว่าจะมีความถี่ของแรงภายนอกค่าหนึ่ง ที่ทำให้อนุภาคแกว่งด้วยอัมปลิจูดมากสุด เรียกความถี่ค่านี้ว่า ความถี่อภินาท (Resonance) จะแกว่งด้วยอัมปลิจูดมากสุดเมื่อ


ดาวน์โหลด ppt การแกว่ง ตอนที่ 2.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google