ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSrisuriyothai Siriwanich ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(Road map to DHS) โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 20 ธค. 2555
2
ตัวชี้วัด DHS จำนวน 2 ข้อ
ข้อที่ 1 ขั้นการพัฒนา ประเมินตนเอง (self assessment) ตามแบบฟอร์ม (บันได 5 ขั้น) จะมีหัวข้อย่อย 5 ประเด็น คือ คณะกรรมการระดับอำเภอ (Unity District Health Team) การให้คุณค่าการทำงาน(Appreciation) การพัฒนาและจัดสรรทรัพยากร ( Knowledge, CBL, FM) การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care) การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน(Community participation) การวัดผล วัดจากความก้าวหน้า โดยเมื่อสิ้นปีงบประมาณมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ขั้น ของเนื้อหา หรืออย่างน้อยระดับ 3 ในแต่ละหัวข้อย่อยขึ้นไป
3
ข้อที่ 2 หนึ่งอำเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพเพื่อแก้ไขปัญหาตามบริบทโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน One District One Project (ODOP) โดยทีมสุขภาพระดับอำเภอคัดเลือกปัญหาสุขภาพตามกลุ่มวัยหรือเชิงประเด็นอย่างน้อย 1 เรื่อง ร่วมกับทีม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันตามความเหมาะสม เพื่อติดตามความก้าวหน้าและความสำเร็จของโครงการ ทั้งนี้ต้องทำงานตามปัญหาของพื้นที่ในรูปแบบของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภออย่างเป็นรูปธรรม
4
แนวทางการพัฒนา DHSA ด้วยกลไกบันได 5 ขั้น
ขั้นที่ 5 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ขั้นที่ 4 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) ขั้นที่ 3 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ขั้นที่ 2 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก ขั้นที่ 1 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team)
5
ขั้นที่ 1 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ
1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team)
6
ขั้นที่ 2 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก
7
ขั้นที่ 3 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ
8
ขั้นที่ 4 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ)
9
ขั้นที่ 5 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
10
คุณลักษณะที่ ๑ 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team) 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการ บันทึก 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และ แผนปฏิบัติการ 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผน พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
11
SRRT + บุคลากร 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและ ผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ ทำ
12
แผนบุคลากร 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือ หน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การ ปฏิบัติงานประจำ 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การ ปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิต วิญญาณ
13
ระบาด+แผน+ผลสำเร็จ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปัญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี
14
คุณลักษณะที่ 1+4 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ
15
ตัวผลักดันให้เกิด DHS
Unity team Essential care ผู้สูงอายุ - สุขภาพฟัน โรคเรื้อรัง - โรคจิตเวช การควบคุมโรคในท้องถิ่น - ผู้พิการ อัมพาต วานส่งเสริม คัดกรองโรค - เด็กเล็ก วัยรุ่น การแพทย์ฉุกเฉิน - ผู้ป่วยระยะสุดท้าย Self care ตัวชี้วัดผู้ตรวจ ตัวชี้วัดที่ 53 ร้อยละของอำเภอที่มี DHS ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 25) Source: โรงพยาบาลท่ามะกา 17 ก.ค
16
แนวทางการพัฒนา District Health System (DHS)
1.การบริหารจัดการสุขภาพเป็นเอกภาพระดับอำเภอ (Unity District Health Team) 2. การบริหารทรัพยากรร่วมกัน (Resouce Sharing) 3.การบริการปฐมภูมิที่จำเป็น (Essential Care) 4. การสร้างคุณค่าและคุณภาพกับเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Appreciation & Quality) 5. ประชาชนและภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาสุขภาพ (Partnerships) DHS
17
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ
มีนโยบายให้สคร.ทำการประเมินความเข้มแข็งของการป้องกันควบคุมโรคในระดับอำเภอต่อไป การตรวจราชการในปี 2557 ให้บูรณาการการประเมินความเข้มแข็งไปกับตัวชี้วัด District Health System Appraisal วิสัยทัศน์ของการดำเนินงาน เพื่อสร้างระบบรับรองคุณภาพการป้องกันควบคุมโรคในระดับอำเภอ (Accreditation) กระบวนการประเมินเป็นเครื่องมือการพัฒนาคุณภาพการทำงานของทีมระดับอำเภอ เป็นกระบวนการต่อเนื่อง ทั้งทีมผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน
18
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ
เกณฑ์สำหรับการประเมินในปี 2557 กิจกรรม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.